ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อำเภออุทุมพรพิสัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Billner2009 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุง+ref
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{รอการตรวจสอบ}}
{{กล่องข้อมูล อำเภอ
| name = อุทุมพรพิสัย
บรรทัด 18:
| fax = 0 4569 1526
}}
'''อุทุมพรพิสัย''' (ในอดีตเขียน "อุทุมพรพิไสย") เป็น[[อำเภอ]]ที่เก่าแก่แห่งหนึ่งของ[[จังหวัดศรีสะเกษ]] โดยเป็นอำเภอเก่าแก่ของจังหวัดศรีสะเกษ (1 ใน 6 อำเภอแรกเริ่มเมื่อมีการก่อตั้งจังหวัดศรีสะเกษมี 6 อำเภอ คือ ร่วมกับ[[อำเภอเมืองศรีสะเกษ]] [[อำเภอกันทรารมย์]] [[อำเภอกันทรลักษ์]] [[อำเภอขุขันธ์]] และ[[อำเภอราษีไศล และอำเภอ]]

อุทุมพรพิสัย) เป็นอำเภอที่[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช]]เคยเสด็จพระราชดำเนินทางรถไฟเยี่ยมพสกนิกรเมื่อครั้งอดีต และเป็นอำเภอที่มีความหนาแน่นของประชากรสูงที่สุดของจังหวัดศรีสะเกษ

ในปัจจุบัน มีอำเภอที่แยกจากอำเภออุทุมพรพิสัยไปแล้ว 4 อำเภอ คือ [[อำเภอห้วยทับทัน]] [[อำเภอบึงบูรพ์]] [[อำเภอเมืองจันทร์]] และ[[อำเภอโพธิ์ศรีสุวรรณ]]
 
== ประวัติ ==
อำเภออุทุมพรพิสัยตั้งขึ้นเมื่อปี [[พ.ศ. 2454]] เดิมเรียกว่า '''อำเภอประจิม''' โดยมีที่ว่าการอำเภอตั้งอยู่บ้านสำโรงใหญ่ หมู่ที่ 1 ตำบลสำโรง มีพระประชุมชันตุนิกรเป็นนายอำเภอคนแรก
 
ต่อมาเมื่อปี [[พ.ศ. 2457]] นายบุญมา ศิลปาระยะ ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ได้พิจารณาเห็นว่าบริเวณโดยรอบที่ว่าการอำเภอประจิม มีต้นมะเดื่อขึ้นอยู่จำนวนมาก ถือได้ว่าเป็นสัญลักษณ์ของอำเภอจึงได้เปลี่ยนชื่อจากอำเภอประจิมเป็น '''อำเภออุทุมพรพิสัย''' ซึ่งมีความหมายว่า "ถิ่นของต้นมะเดื่อใหญ่" ปีต่อมา [[พ.ศ. 2480]] นายสง่า สุขรัตน์ ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ จึงได้พิจารณาถึงสภาพความเหมาะสมของทำเลที่ตั้งที่ว่าการอำเภอและได้วางโครงการย้ายที่ตั้งที่ว่าการอำเภอจากที่เดิมมาตั้งอยู่ที่ใหม่ ณ บ้านตำแย หมู่ที่ 7 ตำบลกำแพง ใกล้กับ[[ทางรถไฟสายกรุงเทพฯ-อุบลราชธานีตะวันออกเฉียงเหนือ]] ซึ่งเป็นที่ตั้งของที่ว่าการอำเภอในปัจจุบัน
 
และต่อมาในปี [[พ.ศ. 2491]] ร.ต.ท. พวง ศรีบุญลือ ดำรงตำแหน่งนายอำเภอ ได้ดำเนินการหาทุนสร้างที่ว่าการอำเภออุทุมพรพิสัย พร้อมทั้งสถานีตำรวจและบ้านพักข้าราชการขึ้นจนแล้วเสร็จและให้ย้ายที่ว่าอำเภอจากที่เดิมคือ บ้านสำโรงใหญ่ หมู่ที่ 1 ตำบลสำโรง มาอยู่ ณ ที่ว่าการอำเภอแห่งใหม่ คือ บ้านตำแย หมู่ที่ 7 ตำบลกำแพง สืบจนมาถึงปัจจุบัน
 
== ที่ตั้งและอาณาเขต ==
เส้น 83 ⟶ 87:
* '''องค์การบริหารส่วนตำบลโคกหล่าม ''' ครอบคลุมพื้นที่ตำบลโคกหล่ามทั้งตำบล
 
== ประชากร ==
== สภาพทางสังคม ==
=== การสาธารณสุข ===
* [[โรงพยาบาลชุมชน]]ขนาด 120 เตียง 1 แห่ง (กำลังปรับขยาย อีก 114 เตียง ตึก 5 ชั้น กำลังก่อสร้าง )
* สำนักงานสาธารณสุขอำเภอ 1 แห่ง
* สถานีอนามัย 21 แห่ง
* คลินิกแพทย์ 7 แห่ง
* ศูนย์สุขภาพชุมชน (กำแพง) 1 แห่ง
* ร้านขายยาแผนปัจจุบัน 15 แห่ง
 
=== การศึกษา ===
''';อุดมศึกษา'''
* [[มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย ห้องเรียนวัดสระกำแพงใหญ่]]
 
''';อาชีวศึกษา'''
* [[โรงเรียนอาชีวศึกษาจุลมณี]]
 
''';มัธยมศึกษา'''
* [[โรงเรียนกำแพง]]
* [[โรงเรียนพระปริยัติธรรมวัดสระกำแพงใหญ่]]
เส้น 107 ⟶ 108:
* [[โรงเรียนทุ่งไชยพิทยารัชมังคลาภิเษก]]
 
== การเดินทางขนส่ง ==
=== ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ===
''';รถยนต์'''
* สถานีตำรวจภูธรอุทุมพรพิสัย
การเดินทางจากตัว[[จังหวัดศรีสะเกษ]]ไปอำเภออุทุมพรพิสัยสามารถใช้เส้นทางหลวงเส้น[[ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226]] (ศรีสะเกษ-อุทุมพรพิสัย) และเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 (อุทุมพรพิสัย-ราษีไศล) มายังอำเภออุทุมพรพิสัย ระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร
* ตู้ยามอุทุมพรพิสัย
* สถานีตำรวจทางหลวงอุทุมพรพิสัย
 
'''[[;รถไฟ]]'''
== สภาพเศรษฐกิจ ==
การเดินทางจากตัว[[กรุงเทพมหานคร]]ไป[[สถานีรถไฟอุทุมพรพิสัย|อำเภออุทุมพรพิสัย]]สามารถใช้รถไฟเดินทางมาได้ มีขบวนรถโดยสาร[[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|รถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ]]ออกจาก[[สถานีรถไฟกรุงเทพ|กรุงเทพ]]ทุกวัน โดยทุกขบวนรถโดยสารหยุดรับรับ–ส่งผู้โดยสารทุกขบวนที่[[สถานีรถไฟอุทุมพรพิสัย]] ระยะทางรถไฟจากสถานีกรุงเทพ 494.45 กิโลเมตร
=== ธนาคาร ===
[[ธนาคาร]] 6 ธนาคาร 8 สาขา
* [[ธนาคารกสิกรไทย]] สาขาอุทุมพรพิสัย
* [[ธนาคารกรุงเทพ]] สาขาเทสโก้โลตัส อุทุมพรพิสัย
* [[ธนาคารกรุงไทย]] สาขาอุทุมพรพิสัย
* [[ธนาคารไทยพาณิชย์]] สาขาอุทุมพรพิสัย ,สาขาเทสโก้โลตัส อุทุมพรพิสัย
* [[ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร]] สาขาอุทุมพรพิสัย ,สาขาส้มป่อย
* [[ธนาคารออมสิน]] สาขาอุทุมพรพิสัย
** ในอดีต เคยมีธนาคารสหธนาคาร (ไทยธนาคาร) เปิดบริการ ที่ อ.อุทุมพรพิสัย ตอนนี้ได้ปิดบริการแล้ว ตามสภาพเศรษฐกิจไทย และธนาคารกสิกรไทย สาขาเทสโก้โลตัส อุทุมพรพิสัย
 
== สถานที่การท่องเที่ยว ==
== งานประเพณีและงานเทศกาล ==
=== ปราสาทสระกำแพงใหญ่ ===
* '''งานงิ้ว''' จัดในช่วงฤดูหนาว บริเวณศาลเจ้าพ่อปู่ตาอุทุมพรพิสัยและบริเวณหลังสถานีรถไฟอุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคมทุกปี
[[ไฟล์:Place Sripruetesuan1.jpg|thumb{{บทความหลัก|ปราสาทวัดสระกำแพงใหญ่]]}}
* '''เทศกาลบุญเดือนสาม''' บูชาหลวงพ่อนาคปรก จัดที่วัดสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ วันขึ้น 12-14 ค่ำ เดือน 3 ทุกปี
[[ไฟล์:Place Sripruetesuan1.jpg|thumb|ปราสาทวัดสระกำแพงใหญ่]]
* '''งานรำลึกปราสาทสระกำแพงใหญ่ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 5 แห่งวิศวะสงกรานต์''' ณ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ จัดตรงกับวันขึ้น 1 - 2 ค่ำ เดือน 5 ทุกปี
[[ปราสาทวัดสระกำแพงใหญ่|ปราสาทหินวัดสระกำแพงใหญ่]] ตั้งอยู่ที่วัดสระกำแพงใหญ่ ตำบลสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย ห่างจากตัวอำเภอมาทางทิศตะวันตก 2 กิโลเมตร
จากคำจารึกที่กรอบประตูโคปุระ โบราณสถานอันล้ำค่า จุดกำเนิดจังหวัดศรีสะเกษ ย้อนรำลึกอดีตตำนานการก่อสร้างปราสาทสระกำแพงใหญ่ อายุนับ 1,000 ปี มรดกทางศิลปกรรมเส้นทางปราสาทขอม ชมขบวนแห่น้ำศักดิ์สิทธิ์จากปราสาทสระกำแพงน้อย ขบวนแห่เครื่องบวงสรวงอันสวยงามตระการตา การแสดง แสง-สี เสียง "ศิวะราตรีแห่งศรีพฤทเธศวร" การประกวดสาวงาม "ธิดาศรีพฤทเธศวร" การแสดงศิลปวัฒนธรรม และเลือกซื้อสินค้าโอทอปของดีศรีสะเกษ
 
ความเป็นมาของปราสาทสระกำแพงใหญ่ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัดว่าสร้างขึ้นมาในสมัยใดหรือศักราชใด ถึงแม้จะพบจารึกที่โบราณสถานแห่งนี้ ข้อความในจารึกกล่าวถึงการซื้อที่ดินถวายแก่เจ้านายผู้ล่วงลับคือ "กมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร" ไม่ได้กล่าวถึงการสร้างปี [[โดย พ.ศ. 1585]] ที่ปรากฏในจารึกไม่ใช่ปีที่สร้างปราสาท ระยะดังกล่าวในกัมพูชาเป็นสม้ยที่[[พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1]] ครองราชย์ แต่มิได้หมายถึงพระองค์เป็นผู้สร้าง จากการศึกษาลวดลายต่าง ๆ ทางด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม ปราสาทสระกำแพงใหญ่ น่าจะมีอายุอยู่ในศิลปะเขมรแบบคลังต่อบาปวน หรือประมาณกลาง[[พุทธศตวรรษที่ 16]] ถึงพุทธศตวรรษที่ 16 ตอนปลาย
== สถานที่ท่องเที่ยว ==
=== ปราสาทสระกำแพงใหญ่ ===
[[ปราสาทวัดสระกำแพงใหญ่|ปราสาทหินวัดสระกำแพงใหญ่]] ตั้งอยู่ที่วัดสระกำแพงใหญ่ ตำบลสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย ห่างจากตัวอำเภอมาทางทิศตะวันตก 2 กิโลเมตร
 
ความเป็นมาของปราสาทสระกำแพงใหญ่ยังไม่สามารถยืนยันได้แน่ชัดว่าสร้างขึ้นมาในสมัยใดหรือศักราชใด ถึงแม้จะพบจารึกที่โบราณสถานแห่งนี้ ข้อความในจารึกกล่าวถึงการซื้อที่ดินถวายแก่เจ้านายผู้ล่วงลับคือ "กมรเตงชคตศรีพฤทเธศวร" ไม่ได้กล่าวถึงการสร้างปี [[พ.ศ. 1585]] ที่ปรากฏในจารึกไม่ใช่ปีที่สร้างปราสาท ระยะดังกล่าวในกัมพูชาเป็นสม้ยที่[[พระเจ้าสุริยวรมันที่ 1]] ครองราชย์ แต่มิได้หมายถึงพระองค์เป็นผู้สร้าง จากการศึกษาลวดลายต่าง ๆ ทางด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม ปราสาทสระกำแพงใหญ่ น่าจะมีอายุอยู่ในศิลปะเขมรแบบคลังต่อบาปวน หรือประมาณกลาง[[พุทธศตวรรษที่ 16]] ถึงพุทธศตวรรษที่ 16 ตอนปลาย
[[ไฟล์:Place Sripruetesuan1.jpg|thumb|ปราสาทวัดสระกำแพงใหญ่]]
ปราสาทสระกำแพงใหญ่เป็นศาสนสถานแบบเขมร ทั้งในด้านศิลปกรรมและสถาปัตยกรรม รวมทั้งความเชื่อในการนับถือศาสนา จากหลักฐานที่ปรากฏสันนิษฐานว่าเดิมเป็นศาสนสถานในศาสนาฮินดู โดยดูจากทับหลังที่สลักภาพบุคคลเล่าเรื่องราวต่างๆเกี่ยวข้องกับ ความเชื่อในศาสนาฮินดู ภายหลังเมื่อพระพุทธศาสนาเข้ามามีอิทธิพลในดินแดนแถบนี้จึงเปลี่ยนเป็นศาสนสถานของศาสนาพุทธ โดยได้ขุดพบพระพุทธรูปนาคปรกปางสมาธิ สูง 1.33 เมตร
 
ปราสาทสระกำแพงใหญ่สร้างขึ้นในศาสนาฮินดู และศาสนาพุทธแบบมหายานเพื่อเป็นที่ประดิษฐานเทวรูป จากการขุดแต่งบูรณะปราสาทแห่งนี้ของกรมศิลปากร เมื่อปี [[พ.ศ. 2532]] ได้ค้นพบปฏิมากรรมสำริดขนาดใหญ่เฉพาะองค์สูง 140 เซนติเมตร และรวมความสูงทั้งฐาน 180 เซนติเมตร ศาสตราจารย์หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศสกุล ให้ความเห็นว่าเป็นรูปของนันทิเกศวรหรือนันทีศวร ลักษณะพิเศษ คือเป็นสำริดกะไหล่ทอง เดิมอาจจะตั้งอยู่หน้าปราสาทหลังกลางภายในมุขหน้าปราสาท เพราะโดยปกติจะประจำอยู่กับเทวาลัยของพระอิศวร ประติมากรรมชิ้นนี้เป็นศิลปะขอมแบบบาปวนตอนปลาย สำคัญมากนับเป็นประติมากรรมชิ้นเอกชิ้นหนึ่งที่พบในประเทศไทย ปัจจุบันจัดแสดงพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ พิมาย
 
สภาพทั่วไปของปราสาทสระกำแพงใหญ่ประกอบด้วยระเบียงคดรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าขนาดกว้าง 49 เมตร ยาว 67 เมตร ล้อมรอบกลุ่มปราสาทอิฐและบรรณาลัย รวมทั้งหมด 6 หลัง จากภาพถ่ายทางอากาศ ชี้ให้เห็นว่าปราสาทสระกำแพงใหญ่น่าจะมีชุมชนรายรอบอย่างหนาแน่น ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ห่างออกไปประมาณ 400 เมตร มีสระน้ำรูปสี่เหลี่ยมขนาดใหญ่ เรียกว่า "สระกำแพง" สันนิษฐานว่าน่าจะขุดขึ้นเมื่อครั้งสร้างปราสาท ส่วนทางทิศตะวันออกมีลำห้วยเล็ก ๆ ไหลผ่าน คือ ห้วยตาเหมา ซึ่งเป็นลำห้วยสาขาที่แยกออกมาจากห้วยสำราญ
 
=== ปราสาทสระกำแพงน้อย ===
{{บทความหลัก|ปราสาทสระกำแพงน้อย}}
[[ไฟล์:Sakampangnoi1.JPG‎|thumb|ปราสาทสระกำแพงน้อย]]
[[ปราสาทสระกำแพงน้อย|ปราสาทหินวัดสระกำแพงน้อย]] ตั้งอยู่ที่บ้านกลาง ตำบลขะยุง อำเภออุทุมพรพิสัย ห่างจากตัวจังหวัด 9 กิโลเมตร อยู่ด้านขวามือติดถนนบนเส้นทางสายศรีสะเกษ-อุทุมพรพิสัย ปราสาทหินสระกำแพงน้อยประกอบด้วยปรางค์และวิหาร ก่อด้วยศิลาแลง สันนิษฐานว่าปราสาทหินแห่งนี้เดิมเป็นศาสนสถานมาก่อน แล้วต่อมาใน[[พุทธศตวรรษที่ 18]] รัชสมัยของ[[พระเจ้าชัยวรมันที่ 7]] อาจมีการบูรณะหรือสร้างเพิ่มเติมขึ้นมาใหม่ สังเกตได้จากมีสถาปัตยกรรมแบบบายนอยู่ด้วย สิ่งก่อสร้างดังกล่าวเรียกกันในสมัยนั้นว่า "อโรคยศาล" หมายถึง สถานพยาบาลหรือสุขศาลาประจำชุมชน
 
== วัฒนธรรม ==
== บุคคลสำคัญ ==
=== เทศกาลและงานประเพณี ===
หลวงปู่เครื่อง สุภทฺโท หรือพระมงคลวุฒ อดีตเจ้าอาวาสวัดสระกำแพงใหญ่ เป็นพระเกจิชื่อดังและพระนักพัฒนาที่ชาวอีสานใต้ต่างให้ความเลื่อมใสศรัทธากันเป็นอย่างดียิ่ง ด้วยความเป็นพระเถระที่มีเมตตาธรรมขั้นสูง เคร่งครัดในพระธรรมวินัย เข้มขลังในวิทยาคมศักดิ์สิทธิ์ด้านเมตตามหานิยม เป็นที่พึ่งพิงทางจิตใจแก่ผู้ประสบทุกข์ร้อนเดือดร้อนทั้งหลาย
* '''งานงิ้ว''' จัดในช่วงฤดูหนาว บริเวณศาลเจ้าพ่อปู่ตาอุทุมพรพิสัยและบริเวณหลังสถานีรถไฟอุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ ในช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคมทุกปี
 
* '''เทศกาลบุญเดือนสาม''' บูชาหลวงพ่อนาคปรก จัดที่วัดสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ วันขึ้น 12-14 ค่ำ เดือน 3 ทุกปี
[[ศรีสะเกษ ศ.รุ่งวิสัย]]
* '''งานรำลึกปราสาทสระกำแพงใหญ่ ขึ้น 2 ค่ำ เดือน 5 แห่งวิศวะสงกรานต์''' ณ ปราสาทสระกำแพงใหญ่ อำเภออุทุมพรพิสัย จังหวัดศรีสะเกษ จัดตรงกับวันขึ้น 1 - 2 ค่ำ เดือน 5 ทุกปี
 
== การเดินทาง ==
'''รถยนต์'''
การเดินทางจากตัว[[จังหวัดศรีสะเกษ]]ไปอำเภออุทุมพรพิสัยสามารถใช้เส้นทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 (ศรีสะเกษ-อุทุมพรพิสัย) และเลี้ยวซ้ายเข้าทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 226 (อุทุมพรพิสัย-ราษีไศล) มายังอำเภออุทุมพรพิสัย ระยะทางประมาณ 24 กิโลเมตร
 
'''[[รถไฟ]]'''
การเดินทางจากตัว[[กรุงเทพมหานคร]]ไป[[สถานีรถไฟอุทุมพรพิสัย|อำเภออุทุมพรพิสัย]]สามารถใช้รถไฟเดินทางมาได้ มีขบวนรถโดยสารออกจากกรุงเทพทุกวัน ขบวนรถโดยสารหยุดรับส่งผู้โดยสารทุกขบวน ระยะทางรถไฟจากสถานีกรุงเทพ 494.45 กิโลเมตร
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
{{อำเภอจังหวัดศรีสะเกษ}}
 
[[หมวดหมู่:อำเภอในจังหวัดศรีสะเกษ|อุทุมพรพิสัย]]
{{โครงจังหวัด}}