ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาชาวบ้านจีน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่ เกาะสีชัง.jpg|thumb|กระดาษสีแดงเขียนคำอธิษฐานที่[[ศาลเจ้าพ่อเขาใหญ่]] ศาลเจ้าจีน บน[[เกาะสีชัง]]]]
'''ศาสนาพื้นบ้านจีน''' หรือ '''ศาสนาเฉิน''' (神 Shén) เป็นขนบทาง[[ศาสนา]]ของ[[ชาวฮั่น]] ที่มาการบูชาบรรพชนและพลังธรรมชาติ การไล่ผี รวมถึงความเชื่อในระบบธรรมชาติที่เป็นไปตามอิทธิพลของมนุษย์และอมนุษย์{{sfnb|Teiser|1995|p=378}} ตามที่ปรากฏในเรื่องปรัมปราของจีน เมื่อถึงครสต์ศตวรรษที่ 11 ([[ราชวงศ์ซ่ง]]) คติเหล่านี้เริ่มผสมผสานกับความเชื่อเรื่อง[[กรรม]]และ[[การเวียนว่ายตายเกิด]]ของ[[ศาสนาพุทธ]] และลำดับชั้นเทพเจ้าของ[[ลัทธิเต๋า]] จนก่อให้เกิดระบบศาสนาที่แพร่หลายดังปัจจุบัน{{sfnb|Overmyer|1986|p=51}}
 
'''ศาสนาพื้นบ้านจีน''' หรือ '''ศาสนาเฉิน''' ({{lang-en|Shenism}} มาจาก {{lang-zh|神 Shén}} แปลว่า เทพเจ้า) เป็นขนบทาง[[ศาสนา]]ของ[[ชาวฮั่น]] ที่มาการบูชาบรรพชนและพลังธรรมชาติ การไล่ผี รวมถึงความเชื่อในระบบธรรมชาติที่เป็นไปตามอิทธิพลของมนุษย์และอมนุษย์{{sfnb|Teiser|1995|p=378}} ตามที่ปรากฏในเรื่องปรัมปราของจีน เมื่อถึงครสต์ศตวรรษที่ 11 ([[ราชวงศ์ซ่ง]]) คติเหล่านี้เริ่มผสมผสานกับความเชื่อเรื่อง[[กรรม]]และ[[การเวียนว่ายตายเกิด]]ของ[[ศาสนาพุทธ]] และลำดับชั้นเทพเจ้าของ[[ลัทธิเต๋า]] จนก่อให้เกิดระบบศาสนาที่แพร่หลายดังปัจจุบัน{{sfnb|Overmyer|1986|p=51}}
 
ศาสนาพื้นบ้านจีนมีที่มา รูปแบบ ภูมิหลัง พิธีกรรม และปรัชญา ที่แตกต่างหลากหลาย แต่มีแนวคิดหลักร่วมกันคือ สวรรค์เป็นที่มาของศีลธรรม เอกภพมีพลังงานชีวิต และบรรพชนเป็นผู้ควรเคารพนับถือ<ref name="Fan, Chen 2013. p. 5-6">Fan, Chen 2013. p. 5-6</ref>