ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ThucydidesNeo (คุย | ส่วนร่วม)
เพิ่มรายละเอียด
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง''' ({{lang-en|gravitational singularity}}) คือภาวะซึ่งเกิดขึ้นเมื่อลักษณะ[[ดาราศาสตร์ฟิสิกส์]]ที่มีพื้นฐานมาจาก[[สัมพัทธภาพทั่วไป]] (general relativity) โดยมีเหตุมาจากการคาดการณ์[[พฤติกรรมเชิงอายุรการ]] (pathological bahavior) ของ[[อวกาศ-เวลา]] (space-time) เช่นความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีค่าเป็น[[อนันตภาพ|อนันต์]] (infinite) นิยามนี้มีความคล้ายคลึงกับ[[ภาวะเอกฐานเชิงคณิตศาสตร์]] (mathematical singularity) เป็นอย่างมากในเชิงที่ว่าภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อสมการแสดงภาวะเอกฐานเชิง[[คณิตศาสตร์]]
{{รอการตรวจสอบ}}
'''ภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วง''' (gravitational singularity) คือภาวะซึ่งเกิดขึ้นเมื่อลักษณะ[[ดาราศาสตร์ฟิสิกส์]]ที่มีพื้นฐานมาจาก[[สัมพัทธภาพทั่วไป]] (general relativity) โดยมีเหตุมาจากการคาดการณ์[[พฤติกรรมเชิงอายุรการ]] (pathological bahavior) ของ[[อวกาศ-เวลา]] (space-time) เช่นความโค้งของอวกาศ-เวลาที่มีค่าเป็น[[อนันตภาพ|อนันต์]] (infinite) นิยามนี้มีความคล้ายคลึงกับ[[ภาวะเอกฐานเชิงคณิตศาสตร์]] (mathematical singularity) เป็นอย่างมากในเชิงที่ว่าภาวะเอกฐานเชิงความโน้มถ่วงนั้นจะเกิดขึ้นเมื่อสมการแสดงภาวะเอกฐานเชิง[[คณิตศาสตร์]]
 
ข้อสังเกตของ[[ภาวะเอกฐาน]]คือ ณ จุดหนึ่งเมื่อความโค้งของอวกาศ-เวลาเกิดการระเบิดขึ้น ล้วนเป็นช่วงที่การอธิบายเป็นการจินตนาการเสียส่วนมาก อย่างไรก็ตามภาวะเอกฐานนั้นสามารถเกิดขึ้นจริงได้แม้ว่าความโค้งของอวกาศ-เวลายังคงไม่เป็นอนันต์อยู่ก็ตาม