ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จตุรเทพ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Bobabmojin (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 4:
[[ไฟล์:LeonLai2006 (cropped).jpg|right|thumb|upright|หลี่หมิง ในปีพ.ศ. 2549]]
 
'''สี่มหาเทวราช''' ({{zh|c=四大天王}}) หรือ '''สี่ราชาสวรรค์''' ([[ประเทศอังกฤษ{{lang-en|อังกฤษ]] : Four Heavenly Kings , [[ภาษาสันสกฤต|สันสกฤต]] ; चतुर्महाराज , ไทย ; [[จาตุมหาราชิกา|ท้าวจตุโลกบาล]]}}) ใช้เป็นฉายาในวงการเพลงป๊อปฮ่องกง ('''Canto-pop''' ; ภาษาจีน : 粵語流行音樂 : a contraction of "Cantonese pop music" or '''HK-pop''' ; short for "Hong Kong pop music" ) ในนาม จตุรเทพแห่งเพลงจีนกวางตุ้ง (Four Heavenly Kings of Cantopop) หรือ สี่ราชาแห่งวงการเพลงป๊อปฮ่องกง (Four Kings of Hong Kong pop-music industry) เป็นกลุ่มนักร้องชายเพลงจีนกวางตุ้ง Cantopop , จีนกลาง หรือแมนดาริน Mandopop ผู้โด่งดังที่สุด 4 คน ในยุค 90s- ของเกาะฮ่องกง ได้รับการขนานนามว่าเป็น "กระบอกเสียงของคนจีน" (Chinese Speaking) แห่งทศวรรษที่ 90 เป็นที่รู้จักในวงการเพลงทั่วโลกในนาม Four Kings of Hong Kong pop-music industry ''';'''
 
หนังสือพิมพ์โอเรียนทัล เดลีนิวส์ (Oriental Daily News) ตั้งฉายานี้ขึ้นในปี พ.ศ. 2535 (1992) เพื่อยกย่องนักร้องชายฮ่องกง 4 คน ที่มีทั้งยอดขายแผ่นเสียง, ยอดจัดคอนเสิร์ต, ยอดขอเพลงจากรายการวิทยุสูงสุดในสมัยนั้น (อุตสาหกรรมเพลงป๊อปของเกาะฮ่องกง) ประกอบด้วย [[จาง เสฺวโหย่ว|จาง เซียะโหย่ว]] (Jacky Cheung), [[หลิว เต๋อหัว]] (Andy Lau), [[กัว ฟู่เฉิง]] (Aaron Kwok) และ [[หลี่ หมิง]] (Leon Lai) พวกเขาได้รับความนิยมเป็นอย่างสูงและทรงอิทธิพลต่อวงการเพลงทั่วเอเชีย ในช่วงปี พ.ศ. 2535-2545 (1992-2002) ทั้งยังเป็นไอดอลของวัยรุ่นในยุคนั้นอีกด้วย <ref>