ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พิธีราชาภิเษก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Sodacan (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
[[ไฟล์:Charles-vii-courronement- Panthéon III.jpg|thumb|300px|พิธีราชาภิเษกของ[[พระเจ้าชาร์ลที่ 7 แห่งฝรั่งเศส]] (พ.ศ. 1972) จากบางส่วนของภาพวาด ''[[โยนออฟอาร์ค|ฌาน ดาร์ก]]'' (''Jeanne d'Arc'') พ.ศ. 2429-2433 โดยฌูลส์ เออแฌน เลอเนิปเวอ]]
'''พิธีราชาภิเษก'''<ref>[http://rirs3.royin.go.th/coinages/webcoinage.php ศัพท์นิติศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถาน]</ref> ({{lang-en|coronation}}) เป็นเป็นพิธีการเพื่อสถาปนาพระมหากษัตริย์ และ/หรือ คู่อภิเษกซึ่งมีพระราชอำนาจ อย่างเป็นทางการ เกี่ยวข้องกับการวางมงกุฎบนพระเศียรของพระองค์หรือการนำเสนอ[[เครื่องราชกกุธภัณฑ์]]รายการอื่น โดยพิธีการนี้อาจหมายรวมถึง การตรัสคำปฏิญาณพิเศษโดยกษัตริย์ การแสดงคารวะจากคนในบังคับ ของผู้ปกครองใหม่ และการแสดงพิธีกรรมอื่น ซึ่งมีความสำคัญพิเศษต่อชาตินั้น ๆ
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เส้น 9 ⟶ 10:
ในอดีต บ่อยครั้งที่หลักการและแนวคิดเกี่ยวกับราชสันตติวงศ์มองว่าพระราชพิธีราชาภิเษกกับเทพเจ้าเชื่อมโยงอย่างแยกออกจากกันไม่ได้ ในอารยธรรมโบราณบางแห่ง พระมหากษัตริย์ผู้ปกครองมักจะถูกมองว่าเป็นเทพเจ้าหรือมีเชื้อสายมาจากพระเจ้า: ใน[[อียิปต์โบราณ]] ผู้คนเชื่อกันว่า[[ฟาโรห์]]คือบุตรแห่ง[[เทพรา]] เทพแห่งดวงอาทิตย์ ในขณะที่[[ญี่ปุ่น]] เชื่อว่า[[จักรพรรดิญี่ปุ่น|สมเด็จพระจักรพรรดิ]]ทรงสืบสายพระโลหิตมาจาก[[อะมะเตะระซุ]] สุริยเทพีของญี่ปุ่น ใน[[โรมโบราณ]]มีการประกาศให้ประชาชนบูชาจักรพรรดิ และใน[[ยุคกลาง]] กษัตริย์ยุโรปทรงถือเอาว่าตนครอบครอง[[เทวสิทธิราชย์]]ที่จะปกครอง พระราชพิธีราชาภิเษกนี้เองจึงถูกใช้ฉายให้เห็นถึงภาพความเกี่ยวโยงกันระหว่างกษัตริย์และเทพเจ้า แต่ในสมัยปัจจุบันการเป็นประชาธิปไตย (democratization) และ[[การแยกศาสนาออกจากรัฐ]] (secularization) มีบทบาทสำคัญมากยิ่งขึ้น ส่งผลให้แนวคิดความเชื่อมโยงกันระหว่างกษัตริย์และเทพเจ้าลดลงไปมาก ดังนั้นพระราชพิธีราชาภิเษก (หรือองค์ประกอบทางศาสนา) มักจะถูกละทิ้งไปโดยสิ้นเชิง หรือถูกปรับเปลี่ยนไปเป็นพิธีอันสะท้อนแก่นสารของความเป็นรัฐตามรัฐธรรมนูญที่ประชาชนในรัฐนั้นๆ ให้การยึดถือ อย่างไรก็ตาม[[ราชาธิปไตย]]ของบางประเทศยังคงดำรงมิติทางด้านศาสนาในกระบวนการขึ้นสู่อำนาจ (การขึ้นครองราชสมบัติ) อย่างเปิดเผย บางแห่งลดทอนความสลับซับซ้อนลงมาเหลือเป็นเพียงพระราชพิธีการเถลิงราชบัลลังก์ (enthronement) หรือพระราชพิธีกล่าวคำพระราชปฏิญาณเป็นพระมหากษัตริย์ (inauguration) หรือไม่กระทำการพระราชพิธีอันใดเลย
 
=== พระราชพิธีบรมราชาภิเษกในประเทศไทย ===
{{บทความหลัก|พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระมหากษัตริย์ไทย}}
{{multiple image
| direction = horizontal
เส้น 24 ⟶ 25:
ตามโบราณราชประเพณีของไทย พระนามของผู้ได้รับการเลือกเป็นพระมหากษัตริย์พระองค์ใหม่ ก็ยังคงใช้ขานพระนามเดิม เป็นแต่เพิ่มคำว่า “ซึ่งทรงสำเร็จราชการแผ่นดิน” ต่อท้ายพระนาม เครื่องยศบางอย่างก็ต้องลด เช่น [[พระเศวตฉัตร]] มีเพียง 7 ชั้น มิใช่ 9 ชั้น คำสั่งของพระองค์ ก็ไม่เรียกว่าพระบรมราชโองการ จนกว่าจะได้ทรงรับการบรมราชาภิเษก จึงถวายพระเกียรติยศโดยสมบูรณ์ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของไทย ปรากฏหลักฐานเป็นครั้งแรกใน[[ประวัติศาสตร์]]คือ [[ศิลาจารึก]][[วัดศรีชุม]]ของ[[พญาลิไท]] แห่ง[[กรุงสุโขทัย]] กล่าวคือ [[พ่อขุนผาเมือง]]อภิเษกพระสหายคือ พ่อขุนบางกลางท่าว ให้เป็น[[พ่อขุนศรีอินทราทิตย์]] ผู้ครองกรุงสุโขทัย แต่ก็ไม่มีรายละเอียดการประกอบพระราชพิธี ว่ามีขั้นตอนอย่างใด
 
จนกระทั่งถึงรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]] เมื่อขึ้นเสวยราชสมบัติ ได้ทรงทำพระราชพิธีนี้อย่างสังเขป เมื่อ[[ พ.ศ. 2325|พุทธศักราช 2325]] ครั้งหนึ่งก่อนแล้วทรงตั้งคณะกรรมการ โดยมี[[เจ้าพระยาเพชรพิชัย]] ซึ่งเป็น[[ข้าราชการ]]ในสมัย[[กรุงศรีอยุธยา]]เป็นประธาน สอบสวนแบบแผนโดยถี่ถ้วน ตั้งขึ้นเป็นตำรา แล้วทรงทำบรมราชาภิเษกเต็มตำราอีกครั้งหนึ่ง เมื่อ[[พ.ศ. 2328|พุทธศักราช 2328]] และได้ใช้เป็นแบบแผนในงานพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ของรัชกาลต่อๆ มาจนถึงปัจจุบัน ซึ่งแต่ละรัชกาล ก็ได้ปรับปรุงแก้ไขรายละเอียดเล็กน้อย ให้เหมาะแก่กาลสมัย ที่สำคัญคือ [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] ซึ่งทรงเป็นปราชญ์ในทางอักษรศาสตร์ และโบราณราช[[ประเพณี]] ได้ทรงพระราชนิพนธ์คำกราบบังคมทูล ของ[[พราหมณ์]]และ[[ราชบัณฑิต]] ขณะถวายเครื่องราชกกุธกัณฑ์ กับพระราชดำรัสตอบเป็น[[ภาษาบาลี]] และคำแปลเป็น[[ภาษาไทย]] ทั้งนี้ อาจวิเคราะห์ได้ว่า พระราชพิธีนี้ มีคติที่มาจากลัทธิพราหมณ์ ผสมกับความเชื่อทาง[[พุทธศาสนา]] ส่วนบทมนต์ต่างๆ ของพราหมณ์นั้น นักวิชาการภาษาตะวันออกโบราณ วินิจฉัยว่า เป็น[[ภาษาทมิฬ]]โบราณ
 
ส่วน[[พระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในรัชกาลที่ 9|พระราชพิธีบรมราชาภิเษก]][[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] เมื่อ[[พ.ศ. 2493|พุทธศักราช 2493]] นั้น [[สำนักพระราชวัง]]ได้ยึดการบรมราชาภิเษก [[พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว]] รัชกาลที่ 7 เป็นหลัก แต่ปรับปรุงให้เหมาะสมกับสภาพบ้านเมืองที่ยังไม่อุดมสมบูรณ์ เพราะเพิ่งผ่านพ้น[[สงครามโลกครั้งที่สอง]] และเพื่อให้เหมาะสมกับการปกครองระบอบ[[ประชาธิปไตย]] แบบ[[ราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ]]ด้วย
เส้น 34 ⟶ 35:
* [[สารานุกรมไทย ฉบับกาญจนาภิเษก]]
 
[[หมวดหมู่:พระราชพิธีราชาภิเษก| ]]
[[หมวดหมู่:พระราชพิธีบรมราชาภิเษก| ]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์]]