ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเยอรมนี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนกลับไปรุ่นที่ 8118553 โดย Thammarithด้วยสจห.
ป้ายระบุ: ทำกลับ
Setawut (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 126:
{{บทความหลัก|สาธารณรัฐไวมาร์|นาซีเยอรมนี}}
[[ไฟล์:Hitler salute in front of lamppost.jpg|thumb|261px|[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ผู้นำพายุโรปเข้าสู่สงครามโลกครั้งที่สอง]]
เมื่อระบอบจักรพรรดิล่มสลาย ได้มีการจัดประชุมสมัชชาแห่งชาติขึ้นที่เมืองไวมาร์และมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นใหม่ เป็นที่มาของชื่อลำลองว่า "สาธารณรัฐไวมาร์" ซึ่งตลอดช่วงเวลา 14 ปีของเยอรมนียุคสาธารณรัฐไวมาร์ ต้องเผชิญกับปัญหามากมาย ทั้งเศรษฐกิจตกต่ำ, อภิมหาเงินเฟ้อ, อัตราการว่างงานสูงลิบ, เผชิญหน้ากับการแพร่ขยายของลิทธิลัทธิคอมมิวนิสต์จากรัสเซีย รวมถึงการห้ามมีกองทัพจากผลของ[[สนธิสัญญาแวร์ซาย]] ความล่มจมของประเทศเช่นนี้ทำให้เกิดขบวนการชาตินิยมขึ้นมากมาย หนึ่งในนั้นคือ[[พรรคกรรมกรเยอรมัน]] (DAP) ซึ่งมีอุดมการณ์แบบสุดโต่ง สิบตรี[[อดอล์ฟ ฮิตเลอร์]] ซึ่งเข้ามาสอดแนมในพรรคแห่งนี้ประทับใจกับอุดมการณ์ของพรรค ฮิตเลอร์ตัดสินใจเข้าร่วมพรรคจนก้าวขึ้นเป็นผู้นำพรรค ในปี 1920 ฮิตเลอร์เปลี่ยนชื่อพรรคแห่งนี้เป็น "[[พรรคนาซี|พรรคกรรมกรชาติสังคมนิยมเยอรมัน]]" หรือที่รู้จักกันในชื่อ "พรรคนาซี"
 
[[ภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่]]ในปี 1929 นั้นส่งผลกระทบร้ายแรงต่อเยอรมนีมาก ผู้คนนับล้านในเยอรมันตกงาน ฮิตเลอร์ได้ใช้โอกาสนี้หาเสียงและกวาดคะแนนนิยม ในการเลือกตั้งทั่วไปเดือนพฤศจิกายน 1932 พรรคนาซีกลายเป็นพรรคการเมืองที่ใหญ่ที่สุดใน[[ไรชส์ทาค (สาธารณรัฐไวมาร์)|สภาไรชส์ทาค]] ครองที่นั่ง 280230 ที่นั่งจากทั้งหมด 584 ที่นั่ง จะเห็นได้ว่าแม้นาซีจะเป็นพรรคใหญ่สุดแต่ก็ยังไม่ได้ครองเสียงข้างมาก เมื่อเกิด[[เหตุเพลิงไหม้ไรชส์ทาค]]ขึ้นในเดือนกุมภาพันธ์ 1933 นายกรัฐมนตรีฮิตเลอร์กดดันให้[[เพาล์ ฟอนฟ็อน ฮินเดนบูร์กนเดินบวร์ค|ประธานาธิบดีฮินเดนบูร์กนเดินบวร์ค]]ออก[[กฤษฎีกาเพลิงไหม้ไรชส์ทาค]] และหว่านล้อมให้สภาลงมติอนุมัติ[[รัฐบัญญัติมอบอำนาจ]] ซึ่งทำให้ฮิตเลอร์กลายเป็น "[[ฟือเรอร์]]" ผู้มีอำนาจเบ็ดเสร็จในเยอรมนีไปโดยปริยาย
 
เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุด เขาได้ฉีกสนธิสัญญาแวร์ซายทิ้งและเร่ง[[การฟื้นแสนยานุภาพของเยอรมนี|ฟื้นฟูแสนยานุภาพของเยอรมัน]]เป็นการใหญ่ ฮิตเลอร์ประกาศลดภาษีรถยนต์เป็นศูนย์และเร่งรัดให้มีการสร้างทางหลวง[[เอาโทบาน]]ทั่วประเทศ ส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์ของเยอรมันเติบโตอย่างมโหฬาร เพียงช่วงเวลาสั้นๆ เยอรมนีได้ผงาดขึ้นเป็นมหาอำนาจอีกครั้งและกลายเป็นชาติที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุดในโลกในทุกด้าน ทั้งด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรม การแพทย์ และการทหาร แม้ว่าเทคโนโลยีหลายอย่างของโลกก็ถือกำเนิดขึ้นจากเยอรมนีในยุคนี้ อย่างไรก็ตามความรุ่งเรืองเหล่านี้ ส่วนหนึ่งจะเป็นผลมาจากการขูดรีดแรงงานในค่ายกักกันก็ตามที่มีอยู่มากมาย
 
เมื่อฮิตเลอร์ขึ้นเป็นผู้นำสูงสุด เขาได้ฉีกสนธิสัญญาแวร์ซายทิ้งและเร่งฟื้นฟูแสนยานุภาพของเยอรมันเป็นการใหญ่ ฮิตเลอร์ประกาศลดภาษีรถยนต์เป็นศูนย์และเร่งรัดให้มีการสร้างทางหลวง[[เอาโทบาน]]ทั่วประเทศ ส่งผลให้อุตสาหกรรมยานยนต์ของเยอรมันเติบโตอย่างมโหฬาร เยอรมนีผงาดขึ้นเป็นมหาอำนาจอีกครั้งและกลายเป็นชาติที่มีเทคโนโลยีก้าวหน้าที่สุดในโลกในทุกด้าน ทั้งด้านวิศวกรรม อุตสาหกรรม การแพทย์ และการทหาร แม้ว่าความรุ่งเรืองเหล่านี้ ส่วนหนึ่งจะเป็นผลมาจากการขูดรีดแรงงานในค่ายกักกันก็ตาม
===== สงครามโลกครั้งที่สอง =====
[[ไฟล์:Europe, 1942.svg|thumb|261px|แผนที่สงครามในทวีปยุโรป ค.ศ. 1942 <br>{{legend|#5881d0|ดินแดนในยึดครองของเยอรมัน|border=0}}{{legend|#7ea2e7|เขตอิทธิพล/รัฐหุ่นเชิดของเยอรมัน|border=0}}{{legend|#e51029|สหภาพโซเวียต|border=0}}{{legend|#41c36a|สหราชอาณาจักรและอาณานิคม|border=0}}]]
เส้น 136 ⟶ 137:
ในปี 1939 ฮิตเลอร์จุดชนวน[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ในยุโรปโดย[[การบุกครองโปแลนด์]] ตามด้วยการรุกรานประเทศอื่นๆในยุโรปและยังทำ[[กติกาสัญญาไตรภาคี]]เป็นพันธมิตรกับอิตาลีและญี่ปุ่น เขตอิทธิพลของนาซีเยอรมันได้แผ่ไพศาลที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติเยอรมันในปี 1942 ครอบคลุมส่วนใหญ่ของ[[ยุโรปภาคพื้นทวีป]] ในปี 1943 ฮิตเลอร์เปลี่ยนชื่อเรียกอย่างเป็นทางการของเยอรมนีจาก "[[ไรช์เยอรมัน]]" (''Deutsches Reich'') เป็น "ไรช์มหาเยอรมัน" (''Großdeutsches Reich'')
 
หลังความล้มเหลวใน[[ปฏิบัติการบาร์บารอสซา]] เยอรมันก็ถูกรุกกลับอย่างรวดเร็วจากทั้งสองด้าน เมื่อ[[กองทัพแดง]]บุกถึงกรุงเบอร์ลินในเดือนเมษายน 1945 ฮิตเลอร์ก็ยิงตัวตาย หนึ่งสัปดาห์ต่อมา เยอรมนีก็[[ตราสารยอมจำนนของเยอรมนี|ยอมจำนนต่อฝ่ายสัมพันธมิตร]]
 
=== เยอรมนีตะวันออกและตะวันตก (ค.ศ. 1945–1990) ===