ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เอดีอาร์ (รถดีเซลราง)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 11:
| service =
| manufacturer = บริษัท [[แดวูอุตสาหกรรมหนัก]] จำกัด
| factory = {{flag|ประเทศเกาหลีใต้}}
| family =
| replaced =
| yearconstruction = [[พ.ศ. 2538]] - [[พ.ศ. 2538–2539]]
| yearservice =
| refurbishment = [[พ.ศ. 2553]] - 2553–ปัจจุบัน
| yearscrapped =
| numberconstruction=
บรรทัด 24:
| numberscrapped =
| formation = กซข.ป.+กซม.ป.+กซข.ป.
| fleetnumbers = 2513 - 2513–2544 (มีห้องขับ), 2121 - 2121–2128 (ไม่มีห้องขับ)
| capacity = 76, 80 ที่นั่ง
| operator = {{flagicon|Thailand}} [[การรถไฟแห่งประเทศไทย]]
| depots = [[โรงรถดีเซลรางกรุงเทพ]]
| lines = [[ทางรถไฟสายเหนือ|สายเหนือ]], [[ทางรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|สายตะวันออกเฉียงเหนือ]] และ[[ทางรถไฟสายใต้|สายใต้]]
| carbody = [[สแตนเลส]]
| trainlength =
บรรทัด 66:
| notes =
}}
'''รถดีเซลรางแดวู''' ({{lang-en|Daewoo Diesel Railcar}}) เป็น[[รถดีเซลราง]]ประเภทปรับอากาศของ[[การรถไฟแห่งประเทศไทย]] และเป็นรถดีเซลรางที่มีความเร็วสูงสุดใน[[ประเทศไทย]] อยู่ที่ 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง มีจำนวนรถรวมทุกรุ่นย่อยทั้งสิ้น 40 คัน (ไม่นับรวมรถที่ถูกดัดแปลงเป็นรถนอน)
 
== รุ่น ==
== ประเภทรถดีเซลรางแดวู<ref>เว็บไซต์ไทยทรานสปอร์ตดอตเน็ต-รถดีเซลราง</ref> ==
; รุ่น 20 (ลำตัวรถผอม)
* '''เอพีดี ( APD.)''' กซข.ป. หมายเลข 2513 - 2513–2524 (มีห้องขับ) จำนวน 12 คัน
* '''เอพีเอ็น ( APN.)''' กซม.ป. หมายเลข 2121 - 2121–2128 (ไม่มีห้องขับ) จำนวน 8 คัน
; รุ่น 60 (ลำตัวรถอ้วน)
* '''เอพีดี ( APD.)''' กซขป. หมายเลข 2525 - 2525–2544 (มีห้องขับ) จำนวน 20 คัน
* '''เอเอ็นที (ANT.)''' พซน.ป. หมายเลข 2101–2140 (เป็นรถพ่วงและไม่มีห้องขับ) จำนวน 40 คัน โดยในปัจจุบันไม่ได้พ่วงกับรถดีเซลรางแดวู กลายเป็น บนท.ป. หมายเลข 1101 - 1140 (รถปรับอากาศนั่งและนอนชั้นที่ 2 หรือ เรียกกันว่า รถนอน 40 ที่นั่งรุ่นใหม่) ปัจจุบันมีพ่วงอยู่ในขบวนรถด่วนที่ 83/84 ([[สถานีรถไฟกรุงเทพ|กรุงเทพ]]-[[สถานีรถไฟตรัง|ตรัง]]-กรุงเทพ ) และรถด่วนขบวนที่ 85/86 (กรุงเทพ-[[สถานีรถไฟนครศรีธรรมราช|นครศรีธรรมราช]]-กรุงเทพ)
; ในอดีต
;* '''เอเอ็นที(ANT.)''' พซน.ป. หมายเลข 2101 - 2140 (เป็นรถพ่วงดีเซลรางนั่งและนอนปรับอากาศไม่มีห้องขับ)
 
== ข้อมูลทั่วไป ==
ปัจจุบันไม่ได้พ่วงกับรถดีเซลรางแดวู กลายเป็น บนท.ป. หมายเลข 1101 - 1140 (รถปรับอากาศนั่งและนอนชั้นที่ 2 หรือ เรียกกันว่า รถนอน 40 ที่นั่งรุ่นใหม่) ปัจจุบันมีพ่วงอยู่ในขบวนรถด่วนที่ 83/84 [[สถานีรถไฟกรุงเทพ|กรุงเทพ]]-[[สถานีรถไฟตรัง|ตรัง]]-กรุงเทพ และรถด่วนขบวนที่ 85/86 กรุงเทพ-[[สถานีรถไฟนครศรีธรรมราช|นครศรีธรรมราช]]-กรุงเทพ
 
== ข้อมูลรถดีเซลรางแดวู<ref>ข้อมูลจากโรงรถดีเซลรางกรุงเทพ</ref> ==
* '''ประเภท''' [[รถดีเซลราง]]ปรับอากาศ (Air Conditioner Diesel Rail Car)
* '''เครื่องยนต์''' Cummins NTA 855-R1
* '''กำลังขับเคลื่อน''' 350 แรงม้า ที่ 2,100 รอบต่อนาที
* '''ระบบขับเคลื่อน''' ใช้[[เครื่องถ่ายทอดกำลัง]]แบบ[[ไฮดรอลิค]] ควบคุมโดยอัตโนมัติ พร้อมวงจรเปลี่ยนทิศทางการขับภายในตัว ของ Voith รุ่น T211RZ
* '''การจัดวางล้อ''' แคร่ 2 - 4 ล้อ [[ระบบกันสะเทือน]]แบบ[[แหนบลม]] (Air Spring)
* '''ระบบห้ามล้อ''' ลมอัด (Air Brack)
* '''ความเร็วสูงสุด''' 120 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
* '''ระบบปรับอากาศ''' Sigma RPR40LX1
* '''ประตูขึ้น-ลงรถ''' เป็นประตูแบบเลื่อนอัตโนมัติ บานเดียว
* '''ประตูกั้นภายในรถ''' เป็นประตูแบบเลื่อนอัตโนมัติ แยกเป็นสองบาน ซ้าย-ขวา ใช้ปุ่มกดเปิด-ปิด
* '''เบาะนั่ง''' เบาะนวม ชุดละ 2 ที่นั่ง สามารถปรับเอนได้ มีถาดวางอาหารหลังเบาะ สามารถหมุนกลับด้านเบาะได้ ตามทิศทางที่รถวิ่ง
* '''จำนวนที่นั่ง''' มีห้องขับ 76 ที่นั่ง ,ไม่(มีห้องขับ), 80 ที่นั่ง (ไม่มีห้องขับ)
* '''ผู้ผลิต''' บริษัท [[แดวูอุตสาหกรรมหนัก]] จำกัด (Daewoo Haevy Industries ltd.) [[ประเทศเกาหลีใต้]]
* '''ราคาต่อคัน'''
** 28,471,378.83 บาท (หมายเลข 2513 - 2513–2524 และ 2121 - 2121–2128)
** 31,597,970.70 บาท (หมายเลข 2525 - 2525–2544)
** 31.5 ล้านบาท (อดีตหมายเลข 2101 - 2101–2140)
* '''วันที่เริ่มใช้งาน'''
* '''เริ่มใช้งาน''' 14 ตุลาคม - 1 พฤศจิกายน [[พ.ศ. 2538]] (หมายเลข 2513 - 2524) 14 ตุลาคม [[พ.ศ. 2538]] (หมายเลข 2121 - 2128) 27 มิถุนายน - 27 กันยายน [[พ.ศ. 2539]] (หมายเลข 2525 - 2544) ใช้งานมาจนถึงปัจจุบัน
** 14 ตุลาคม – 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2538 (หมายเลข 2513–2524)
** 14 ตุลาคม พ.ศ. 2538 (หมายเลข 2121–2128)
** 27 มิถุนายน – 27 กันยายน พ.ศ. 2539 (หมายเลข 2525–2544)
== ปัญหาเกี่ยวกับรถดีเซลรางแดวูและข้อวิจารณ์ ==
=== [[เรือด]] ===
ในช่วงปลาย พ.ศ. 2550 ได้พบ[[เรือด]]บนเบาะในตู้โดยสารของแดวู<ref>{{cite web|url=http://portal.rotfaithai.com/modules.php?name=Forums&file=viewtopic&t=2021|title=ตัวเรือด บุกดีเซลราง Daewoo|accessdate=13 เมษายน 2562}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.matichon.co.th/news_detail.php?id=21296&catid=19|title=กองทัพ'ตัวเรือด'ระบาดในเบาะรถไฟ - รุมกัดผู้โดยสาร|accessdate=13 เมษายน 2562}}</ref><ref>{{cite web|url=http://www.thairath.co.th/offline.php?section=hotnews&content=82082|title=ขนลุกไต่ยุ่บยั่บ ตัวเรือด ในเบาะนั่งรถไฟ|accessdate=13 เมษายน 2562}}</ref> ทำให้ขบวนรถที่ใช้รถดีเซลรางแดวูหลายขบวนต้องงดให้บริการหรือใช้รถดีเซลราง[[สปรินเทอร์ในประเทศไทย|สปรินเทอร์]]ทำการแทน เพื่อกำจัดเรือดและเปลี่ยนเบาะเป็นแบบใหม่
[[ไฟล์:DRC 00005.jpg|250px|thumbnail|right|เบาะกำมะหยี่แบบเก่าของรถดีเซลรางแดวู เป็นแหล่งสะสม[[เรือด]]]]
 
[[ไฟล์:DRC 00005 NEW.jpg|right|thumb|250px|เบาะแบบใหม่ของรถดีเซลรางแดวู]]
<gallery>
เมื่อช่วงต้นปี[[พ.ศ. 2551]] ได้พบว่ามี[[เรือด]] ในตู้โดยสาร ทำให้ขบวนรถที่ใช้รถดีเซลรางแดวูหลายขบวนต้องงดให้บริการเพื่อกำจัดตัวเรือดและเปลี่ยนเบาะเป็นแบบใหม่
[[ไฟล์:DRC 00005.jpg|250px|thumbnail|right|เบาะกำมะหยี่แบบเก่าของรถดีเซลรางแดวู เป็นแหล่งสะสม[[เรือด]]]]
[[ไฟล์:DRC 00005 NEW.jpg|right|thumb|250px|เบาะแบบใหม่ของรถดีเซลรางแดวู]]
</gallery>
 
=== อุบัติเหตุ ===
รถดีเซลรางแดวู เป็นรถดีเซลรางที่ทำความเร็วได้ถึง 120-120–160 กิโลเมตร/ชั่วโมง จนเป็นสาเหตุทำให้เกิดอุบัติเหตุหลายครั้ง เนื่องจากมีจุดตัดที่ไม่มีเครื่องกั้นหรือทางลักผ่านหลายจุด และผู้ขับขี่[[รถยนต์พาหนะ]],[[รถจักรยานยนต์]]บางคนนั้นไร้วินัย ทางถนนไม่เคารพกฎจราจร (ไม่จอดรอให้รถไฟวิ่งผ่านไปก่อน แล้วค่อยขับรถข้าม ทางรถไฟ) และจุดตัดที่ไม่มีเครื่องกั้น<ref>[{{cite web|url=http://topicstock.pantip.com/blueplanet/topicstock/2012/08/E12567572/E12567572.html |title=เรื่องน่ารู้ก่อนโดยสารรถไฟไทย]|accessdate=13 เมษายน 2562}}</ref> จึงทำให้รถดีเซลรางแดวู ต้องเปลี่ยนเสียงหวูดหวีดใหม่ เป็นเสียงหวูด[[รถไฟ]]ของรถจักรอเมริกันหวีดยี่ห้อ ยี่ห้อNathan AirChime รุ่น K3LA คล้ายกับที่ใช้ในรถจักรของ[[แอ็มแทร็ก]]ในสหรัฐ
 
== ขบวนรถที่ให้บริการ ==
==== รถดีเซลรางแดวูที่ประสบอุบัติเหตุ<ref>รถไฟไทยดอตคอม</ref> ====
;ปัจจุบัน
* หมายเลข '''2514 และ 2523''' ทำขบวน 22 ชนสิบล้อที่ทางตัดพืชสวนช่วง[[สถานีรถไฟศรีสะเกษ]] - [[สถานีรถไฟบ้านเนียม]] วันที่ [[10 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2553]]
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 3/4 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟสวรรคโลก|สวรรคโลก]] - [[สถานีรถไฟศิลาอาสน์|ศิลาอาสน์]]–กรุงเทพ - กรุงเทพ(วิ่งแทน[[สปรินเทอร์ในประเทศไทย|สปรินเทอร์]]เป็นบางครั้ง)
* หมายเลข '''2530 และ 2536''' ทำขบวน 39+41 ชนกับขบวน 178 ที่[[สถานีรถไฟหนองแก]] [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] วันที่ [[14 มกราคม]] [[พ.ศ. 2550]] (กำลังซ่อมที่มักกะสัน)
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 7/8 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]] - กรุงเทพ (เริ่ม 1 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2558]])
* หมายเลข '''2531''' ทำขบวน 71 ชนกระบะที่[[สถานีรถไฟโคกกรวด]] วันที่ [[29 ตุลาคม]] [[พ.ศ. 2549]]
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 21/22 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]] - กรุงเทพ
* หมายเลข '''2533''' ทำขบวน 388 ชนกับรถจักร[[จีอีเอ]] หมายเลข 4543 ที่[[สถานีรถไฟชุมทางฉะเชิงเทรา|ชุมทางฉะเชิงเทรา]]
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 39/40 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี|สุราษฎร์ธานี]] - กรุงเทพ
* หมายเลข '''2535''' ทำขบวน 12 ชนกับรถบรรทุก ที่[[สถานีรถไฟบ้านใหม่|บ้านใหม่]]
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 41/42 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟยะลา|ยะลา]] - กรุงเทพ
*หมายเลข '''2537''' '''Nuk Anucha Sprinter'''
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 43/44 กรุงเทพ - สุราษฎร์ธานี - กรุงเทพ–สุราษฎร์ธานี–กรุงเทพ
* หมายเลข '''2526 และ 2537''' ทำขบวน 43 ชนกระบะ ที่ [[จังหวัดประจวบคีรีขันธ์]] รถตกรางไปนอนข้างทาง วันที่ [[19 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2551]]
* หมายเลข '''2539''' ทำขบวน 43 ชนรถยนต์ ที่ [[สถานีรถไฟไชยา]] ด้านหน้ายุบ วันที่ [[3 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2552]]
* หมายเลข '''2542''' ซ่อมแซมเรียบร้อยแล้ว ออกใช้การแล้ว
* หมายเลข '''2543''' ทำขบวน 22 ชนกับรถบรรทุก 6ล้อ ที่[[สถานีรถไฟบุฤๅษี]] [[จังหวัดสุรินทร์]] ทำให้แคร่รถด้านหน้ายุบ วันที่ [[30 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2553]] ปัจจุบันรอซ่อมแซมเพื่อนำกลับมาให้บริการ
* หมายเลข '''2544''' ทำขบวน 43 ชนกับรถบรรทุก 10 ล้อ ที่[[สถานีรถไฟปากท่อ]] ด้านหน้ายุบ
* หมายเลข '''2527''' ทำขบวน 12 ชนกับรถบรรทุก 6 ล้อ ที่บริเวณก่อนเข้า[[สถานีรถไฟหนองตม]] ทำให้รถไฟไหม้ เมื่อวันที่ [[16 มิถุนายน]] [[พ.ศ. 2554]]
* หมายเลข '''2515 และ 2519''' ทำขบวน 40 ชนรถยนต์ ที่ [[สถานีรถไฟปราณบุรี]] ทำให้รถตกรางและไฟไหม้ในเวลาต่อมา เมื่อวันที่ [[28 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2554]]
* หมายเลข '''2525 Nuk Anucha Sprinter''' ทำขบวน 41 ชนกับรถบรรทุกน้ำมันเตา ที่[[สถานีรถไฟบ่อกรัง]] [[จังหวัดสุราษฎร์ธานี]] เมื่อวันที่ [[11 มีนาคม]] [[พ.ศ. 2555]]
 
; ในอดีต
== ขบวนรถที่ใช้รถดีเซลรางแดวูทำขบวน ==
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 11/10 กรุงเทพ - เชียงใหม่ - กรุงเทพ–เชียงใหม่–กรุงเทพ (ปัจจุบันยกเลิกการเดินรถแล้ว)
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 3/4 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟสวรรคโลก|สวรรคโลก]] - [[สถานีรถไฟศิลาอาสน์|ศิลาอาสน์]] - กรุงเทพ
* ขบขวนรถด่วนที่ 71/74 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟศรีสะเกษ|ศรีสะเกษ]] - กรุงเทพ (ปัจจุบันใช้รถดีเซลราง[[ทีเอชเอ็น]], [[เอ็นเคเอฟ]] และ[[เอทีอาร์ (รถราง)|เอทีอาร์]] ทำขบวนแทน)<ref>*{{cite web|url=http://pantip.com/topic/31921860|title=เล่าเรื่องรถไฟสายตะวันออกเฉียงเหนือ|accessdate=13 เมษายน 2562}}</ref>
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 7/8 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟเชียงใหม่|เชียงใหม่]] - กรุงเทพ (เริ่ม 1 กรกฎาคม [[พ.ศ. 2558]])
* ขบขวนรถด่วนที่ 73/72 กรุงเทพ - กรุงเทพ–[[สถานีรถไฟศีขรภูมิ|ศีขรภูมิ]] - กรุงเทพ (ปัจจุบันใช้รถดีเซลราง[[ทีเอชเอ็น]], [[เอ็นเคเอฟ]] และ[[เอทีอาร์ (รถราง)|เอทีอาร์]] ทำขบวนแทน)
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 21/22 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟอุบลราชธานี|อุบลราชธานี]] - กรุงเทพ
* ขบวนรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศที่ 947/948 และ 949/950 [[สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่|ชุมทางหาดใหญ่]] - [[ปาดังเบซาร์]] - ชุมทางหาดใหญ่ (ปัจจุบันใช้รถโบกี้ชั้นที่ 3(บชส.) พร้อมหัวรถจักรทำขบวนแทน)
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 39/40 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟสุราษฎร์ธานี|สุราษฎร์ธานี]] - กรุงเทพ
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 41/42 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟยะลา|ยะลา]] - กรุงเทพ
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 43/44 กรุงเทพ - สุราษฎร์ธานี - กรุงเทพ
 
== ขบวนรถที่เคยใช้รถดีเซลรางแดวูทำขบวน ==
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 9/12 กรุงเทพ - เชียงใหม่ - กรุงเทพ (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นขบวนที่ 7/8 แล้ว)
* ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 11/10 กรุงเทพ - เชียงใหม่ - กรุงเทพ (ปัจจุบันยกเลิกการเดินรถแล้ว)
* ขบขวนรถด่วนที่ 71/74 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟศรีสะเกษ|ศรีสะเกษ]] - กรุงเทพ (ปัจจุบันใช้รถดีเซลราง[[ทีเอชเอ็น]],[[เอ็นเคเอฟ]] และ[[เอทีอาร์ (รถราง)|เอทีอาร์]] ทำขบวนแทน)<ref>* http://pantip.com/topic/31921860</ref>
* ขบขวนรถด่วนที่ 73/72 กรุงเทพ - [[สถานีรถไฟศีขรภูมิ|ศีขรภูมิ]] - กรุงเทพ (ปัจจุบันใช้รถดีเซลราง[[ทีเอชเอ็น]],[[เอ็นเคเอฟ]] และ[[เอทีอาร์ (รถราง)|เอทีอาร์]] ทำขบวนแทน)
* ขบวนรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศที่ 947/948 [[สถานีรถไฟชุมทางหาดใหญ่|ชุมทางหาดใหญ่]] - [[ปาดังเบซาร์]] - ชุมทางหาดใหญ่ (ปัจจุบันใช้รถโบกี้ชั้น3(บชส.) ทำขบวนแทน)
* ขบวนรถด่วนพิเศษระหว่างประเทศที่ 949/950 ชุมทางหาดใหญ่ - ปาดังเบซาร์ - ชุมทางหาดใหญ่ (ปัจจุบันใช้รถโบกี้ชั้น3(บชส.) ทำขบวนแทน)
<gallery>
ไฟล์:RailTahiLand Sprinter9RailWay001.jpgJPG|ด้านข้างของ ขบวนรถด่วนพิเศษดีเซลรางนั่งปรับอากาศที่แดวู 9หมายเลข กรุงเทพ2544 - เชียงใหม่ (ในขณะนั้น) ขณะวิ่งผ่าน ชานชาลารางจอดที่ 2 [[สถานีรถไฟอยุธยาดอนเมือง]]
ไฟล์:Daewoo2515.JPG|รถดีเซลรางแดวู หมายเลข 2515 ขณะจอดที่[[สถานีรถไฟกรุงเทพ]]
ไฟล์:Rail Sprinter9.jpg|ด้านข้างของขบวนรถด่วนพิเศษที่ 9 กรุงเทพ–เชียงใหม่ (ในขณะนั้น) ขณะวิ่งผ่านชานชาลาที่ 2 [[สถานีรถไฟอยุธยา]]
ไฟล์:Rail Sprinter40.jpg|ขบวนรถด่วนพิเศษที่ 40 สุราษฏร์ธานี–กรุงเทพ ที่ชานชาลาที่ 1 [[สถานีรถไฟหัวหิน]]
</gallery>