ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เขตราชเทวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
บรรทัด 28:
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[เขตวัฒนา]]และ[[เขตปทุมวัน]] มี[[คลองแสนแสบ]]เป็นเส้นแบ่งเขต
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[เขตดุสิต]] มีทางรถไฟสายเหนือเป็นเส้นแบ่งเขต
 
== เหตุการณ์สำคัญ ==
[[เหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533]] เกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2533 เสียชีวิต 89 ราย
 
19 มกราคม พ.ศ. 2557 ช่วงบ่าย เกิดการโจมตีด้วยระเบิดอีก ณ จุดชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 28 คน ถาวร เสนเนียม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งอยู่ที่จุดชุมนุมเชื่อว่าเขาเป็นเป้าระเบิด ชายไม่ทราบรูปพรรณขว้างวัตถุระเบิดใกล้เตนท์ศูนย์สื่อหลังเวทีชุมนุมแล้วหลบหนีเมื่อเวลา 13.30 น.<ref name="another_daylight_blast">{{cite news|title=Another daylight blast wounds 28 ralliers|url=http://www.bangkokpost.com/news/local/390373/another-daylight-blast-wounds-28-ralliers|accessdate=20 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=20 January 2014}}</ref> รักษาความปลอดภัยที่จุดชุมนุมของเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทยบนถนนราชดำเนินนอกถูกนำส่งโรงพยาบาลจากกระสุนปืนจากมือปืนไม่ทราบตัวในเย็นวันเดียวกัน<ref>{{cite news|title=NSPRT guard shot at Makkawan|url=http://www.bangkokpost.com/breakingnews/390410/nsprt-guard-shot-at-makkawan|accessdate=19 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=19 January 2014}}</ref> มีผู้เสียชีวิตในวันดังกล่าว ได้แก่นาย[[อานนท์ ไทยดี]] ถูกระเบิดที่บริเวณ[[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]] เสียชีวิต<ref>[https://waymagazine.org/death_toll_pdrc_27/27 ชีวิตที่หล่นหาย จากเสียงนกหวีดถึงวันรัฐประหาร]</ref>
 
== ที่มาของชื่อเขต ==
เส้น 46 ⟶ 41:
 
ต่อมาในท้องที่เขตพญาไทมีความเจริญและมีผู้คนหนาแน่นขึ้น เพื่อประสิทธิภาพในการปกครอง การบริหารราชการ และการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน ในวันที่ [[6 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2532]] [[กระทรวงมหาดไทย]]จึงมีประกาศให้แบ่งพื้นที่ 4 แขวงทางทิศใต้ของเขตพญาไทจัดตั้งเป็น '''เขตราชเทวี''' จนกระทั่งในปี [[พ.ศ. 2536]] ได้มีการจัดตั้ง[[เขตดินแดง]]ขึ้น โดยนำพื้นที่บางส่วนของแขวงมักกะสันไปรวมด้วย
 
== เหตุการณ์สำคัญ ==
[[เหตุการณ์แก๊สระเบิดที่ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ พ.ศ. 2533]] เกิดเมื่อวันที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2533 มีผู้เสียชีวิต 89 ราย
 
19 มกราคม พ.ศ. 2557 ช่วงบ่าย เกิดการโจมตีด้วยระเบิดอีก ณ จุดชุมนุมประท้วงต่อต้านรัฐบาลอนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ มีผู้ได้รับบาดเจ็บ 28 คน ถาวร เสนเนียม อดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรพรรคประชาธิปัตย์ซึ่งอยู่ที่จุดชุมนุมเชื่อว่าเขาเป็นเป้าระเบิด ชายไม่ทราบรูปพรรณขว้างวัตถุระเบิดใกล้เตนท์ศูนย์สื่อหลังเวทีชุมนุมแล้วหลบหนีเมื่อเวลา 13.30 น.<ref name="another_daylight_blast">{{cite news|title=Another daylight blast wounds 28 ralliers|url=http://www.bangkokpost.com/news/local/390373/another-daylight-blast-wounds-28-ralliers|accessdate=20 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=20 January 2014}}</ref> รักษาความปลอดภัยที่จุดชุมนุมของเครือข่ายนักศึกษาประชาชนปฏิรูปประเทศไทยบนถนนราชดำเนินนอกถูกนำส่งโรงพยาบาลจากกระสุนปืนจากมือปืนไม่ทราบตัวในเย็นวันเดียวกัน<ref>{{cite news|title=NSPRT guard shot at Makkawan|url=http://www.bangkokpost.com/breakingnews/390410/nsprt-guard-shot-at-makkawan|accessdate=19 January 2014|newspaper=Bangkok Post|date=19 January 2014}}</ref> มีผู้เสียชีวิตในวันดังกล่าว ได้แก่นาย[[อานนท์ ไทยดี]] ถูกระเบิดที่บริเวณ[[อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ]] เสียชีวิต<ref>[https://waymagazine.org/death_toll_pdrc_27/27 ชีวิตที่หล่นหาย จากเสียงนกหวีดถึงวันรัฐประหาร]</ref>
 
== การแบ่งเขตการปกครอง ==