ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดิเมจิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
เเก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{เพิ่มอ้างอิง}}
{{infobox royalty
{{กล่องข้อมูล จักรพรรดิญี่ปุ่น
| era names = [[เคโอ]] (Keiō , 1867 – 1868) <br> [[เมจิ]] (Meiji ,1868 - 1912)
| สีอักษร = white
| image = The Americana - a universal reference library, comprising the arts and sciences, literature, history, biography, geography, commerce, etc. of the world (1903) (14761612426).jpg
| name = สมเด็จพระจักรพรรดิมุตสึฮิโตะ<br><small> พระจักรพรรดิเมจิ</small>
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ}}
| birth_name = มุตสึฮิโตะ (睦仁) <br> พระราชทานเมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน
| birthbirth_date = [[3 พฤศจิกายน]] [[ค.ศ. 1852]]
| birth_place = [[เกียวโต (เมือง)|เกียวโต]], [[ญี่ปุ่น]]
| deathdeath_date = [[30 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1912]]
| death_place = [[โตเกียว]], [[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]
| title = เจ้าซะชิ
| father = [[จักรพรรดิโคเม]]
| mother = [[โยชิโกะ นากายามะ|พระสนมโยชิโกะ]]
| empress = [[สมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็ง|ฮารุโกะ อิชิโจ]] <br> อภิเษกเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1869
| era namesdates = [[เคโอ]] (Keiō , 1867 – 1868) <br> [[เมจิ]] (Meiji ,1868 - 1912)
|mausoleum = [[สุสานหลวงฟุชิมิโมะโมะยะมะ]]
|children issue = [[จักรพรรดิไทโช]]
|burial = 13 กันยายน พ.ศ. 2455
| genpuku = 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1868
|children = [[จักรพรรดิไทโช]]
| dynasty = [[ราชวงศ์ญี่ปุ่น]]
| succession = [[จักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น]] องค์ที่ 122
| coronation = [[12 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1868]]
| reign = '''ครองราชย์''' <br> [[3 กุมภาพันธ์]] [[ค.ศ. 1867]] - [[30 กรกฎาคม]] [[ค.ศ. 1912]]
| predecessor = [[จักรพรรดิโคเม]]
| successor = [[จักรพรรดิไทโช]]
| coronation_place = [[พระราชวังหลวงเกียวโต]]
| signature = Meiji_shomei.png
| burialburial_date = [[13 กันยายน]] [[ค.ศ. 1912]]
|mausoleum burial_place = [[สุสานหลวงฟุชิมิโมะโมะยะมะ]]
| daijosai = 28 ธันวาคม ค.ศ. 1871
}}
'''สมเด็จพระจักรพรรดิมุตสึฮิโตะ''' ({{ญี่ปุ่น|睦仁天皇|มุตสึฮิโตะเท็นโน}}) พระนามตามรัชสมัยคือ '''จักรพรรดิเมจิ''' ({{ญี่ปุ่น|明治天皇|เมจิเท็นโน}}) ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์ที่ 122 ของประเทศ[[ญี่ปุ่น]] ครองราชย์ตั้งแต่ ค.ศ. 1867 ด้วยพระชนมายุเพียง 14 พรรษาจนเสด็จสรรคต ญี่ปุ่นได้ก้าวขึ้นมาเป็นชาติมหาอำนาจในรัชสมัยของพระองค์
เส้น 34 ⟶ 31:
จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชสมภพเมื่อวันที่ 3 พฤศจิกายน ค.ศ. 1852 ในตำหนักเล็ก ๆ นอก[[พระราชวังหลวงเกียวโต]] มีพระนามว่า '''เจ้าชายมุตสึฮิโตะ''' และเมื่อแรกประสูติทรงราชทินนามเป็น '''เจ้าซาชิ''' เป็นพระราชโอรสองค์ที่ 2 ในจักรพรรดิโคเม (องค์แรกสิ้นพระชนม์ไปก่อน) ส่วนมารดาของพระองค์คือ โยชิโกะ จากตระกูลนากายามะ ตระกูลข้าราชบริพารในวังหลวงตระกูลหนึ่ง โยชิโกะเป็นนางสนมนางหนึ่งในบรรดานางสนมหลายสิบคนของจักรพรรดิโคเม
 
สี่เดือนหลังประสูติ ญี่ปุ่นได้เผชิญหน้ากับการมาถึงของ "กองเรือดำ" ในบัญชาของพลเรือจัตวา [[แมทธิว ซี. เพร์รี]] แห่งจากสหรัฐอเมริกา เข้ามายังอ่าวเอโดะและบังคับให้รัฐบาลโชกุน[[บะกุมะสึ|เปิดประเทศ]] การเปิดประเทศนี่เองทำให้รัฐบาลโชกุนเผชิญหน้ากับฝ่ายกบฎ (ฝ่ายหัวสมัยใหม่) ทั้งสองฝ่ายต่างก็อยากได้จักรพรรดิมาเป็นพวก แต่พระราชบิดาของพระองค์เลือกที่จะวางตัวเป็นกลางขอแค่ให้พระราชวงศ์ได้อยู่รอดปลอดภัย ชีวิตที่ลำบากยากแค้นในวัยเด็กทำให้เจ้าชายมุตสึฮิโตะเป็นเด็กขี้ขลาด ในปี ค.ศ. 1864 ที่ฝ่ายกบฎ[[แคว้นโชชู]]พยายามบุกวังหลวงจนเกิดเป็นการต่อสู้กับฝ่ายโชกุนจนเสียงปืนใหญ่ดังสนั่นทั่วทั้งวังหลวง ในขณะนั้นเจ้าชายมุตสึฮิโตะในวัย 11 ชันษาตกใจถึงกับเป็นลม การที่รัชทายาทอ่อนแอเช่นนี้ได้สร้างความวิตกต่อตระกูลนากายามะอย่างมาก ทำให้พวกเขาเริ่มตระหนักได้ว่าจำเป็นต้องฝึกฝนให้ว่าที่จักรพรรดินั้น "ร่างกายกำยำ จิตใจเหี้ยมหาญ" พวกเขาจึงให้ [[ไซโง ทากาโมริ]] ซามูไรเลื่องชื่อหัวสมัยใหม่มารับหน้าที่พระอาจารย์อบรมสั่งสอนเจ้าชายมุตสึฮิโตะ
 
หลังไซโงกลายมาเป็นพระอาจารย์ ไซโงได้เปลี่ยนสนามของวังหลวงเป็นลานประลอง เขาอบรมสั่งสอนเจ้าชายมุตสึฮิโตะในแบบของนักรบ ทั้งวิชาฟันดาบ, ยิงธนู, ขี่ม้า, มวยปล้ำ เจ้าชายองค์น้อยผู้บอบบางได้เติบใหญ่เป็นนักรบจากการอบรมของไซโง
เส้น 52 ⟶ 49:
 
=== ย้ายเมืองหลวง ===
[[ภาพ:MeijiJoukyou.jpg|left|200px|thumb|ทรงย้ายเมืองหลวงไปโตเกียว ขณะมีพระชันษาชนมายุ 16 พรรษา]]
โลกทัศน์ของพระองค์ขยับขยายอย่างรวดเร็วเมื่อเข้าฤดูใบไม้ร่วงของปี ค.ศ. 1868 หลังจากที่คณะรัฐบาลในพระองค์ตัดสินใจย้ายเมืองหลวงไปยังนครเอโดะ และเปลี่ยนชื่อเป็นโตเกียว จักรพรรดิเมจิเสด็จพระราชดำเนินทางชลมารคไปยังนครหลวงใหม่เป็นครั้งแรก ไพร่พลในขบวนเสด็จครั้งนั้นมีจำนวนถึง 3,300 ชีวิต ระหว่างทางได้ทอดพระเนตรดูผืนน้ำทะเลเป็นครั้งแรกด้วยเช่นกัน เหตุการณ์นี้ทำให้[[คิโดะ ทะกะโยะชิ]] ที่โดยเสด็จอยู่ด้วยบันทึกไว้ว่า "''ข้าพเจ้าตื้นตันจนมีน้ำตา เมื่อตระหนักว่านี่คือจุดเริ่มต้นแห่งยุคสมัยที่เดชานุภาพจะได้แผ่ไปทั่วโลกอันไพศาล''" ครั้นขบวนเสด็จถึงกรุงโตเกียวในวันที่ 5 พฤศจิกายน พสกนิกรมากมายหลายหมื่นมาเฝ้ารอรับเสด็จอยู่ทั้งสองข้างทาง เพื่อถวายความจงรักภักดี พร้อมกันนั้น พระราชยานประดับรูปไก่ฟ้าทองคำก็เคลื่อนตรงไปยัง[[ปราสาทเอโดะ]] อดีตที่พำนักของโชกุนที่จะใช้เป็นที่ประทับ อย่างไรก็ตาม ในเดือนมกราคม ค.ศ. 1869 องค์จักรพรรดิเสด็จกลับไปยังเกียวโตเป็นระยะเวลาสั้นๆ ก่อนจะเสด็จมาประทับที่โตกียวเป็นการถาวรในอีก 2 เดือนต่อมา
 
เส้น 60 ⟶ 57:
== การเมืองการปกครองตอนต้นรัชกาล ==
{{ประวัติศาสตร์จักรวรรดิญี่ปุ่น}}
เหตุผลหลักที่ผู้นำคนสำคัญในรัฐบาลชุดใหม่ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง [[โอกูโบะ โทชิมิชิ]] และ[[ไซโง ทากาโมริ]] แห่งแคว้นซะสึมะ กราบทูลเชิญจักรพรรดิเมจิไปยังโตเกียว ก็เพื่อผลักดันให้สมเด็จพระจักรพรรดิพระประมุขเป็นอิสระจากแนวคิดและลักษณะอนุรักษนิยมของชาวเกียวโต [[ค.ศ. 1871]] ไซโกได้ทูลเกล้าฯ ถวายเสนอแผนปฏิรูปโดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้
 
* อันดับแรก เพื่อลดจำนวนนางกำนัลที่คอยถวายรับใช้พระจักรพรรดิลง เขาชี้แจงว่านับแต่อดีตมาจนบัดนั้น พวกนางมักจะมีอิทธิพลครอบงำวังหลวงมากเกินไป
เส้น 86 ⟶ 83:
=== พระราชโอรสและธิดา ===
[[ไฟล์:The Japanese imperial family, 1900.jpg|200px|thumb|ภาพราชวงศ์ญี่ปุ่นในสมัยเมจิ]]
แม้ว่าจักรพรรดิเมจิและสมเด็จพระจักรพรรดินีโชเก็งจะไม่มีพระราชโอรสหรือพระราชธิดาด้วยกัน แต่สมเด็จพระจักรพรรดิก็มีพระราชโอรส-ธิดาประสูติจากพระสนม ทั้งสิ้น 15 พระองค์ คือ
# '''เจ้าชาย (ไม่ปรากฏพระนาม) ''' ประสูติ [[18 กันยายน]] [[พ.ศ. 2416]] และสิ้นพระชนม์ในวันเดียวกัน ประสูติแด่พระสนมมิตสึโกะ
# '''เจ้าหญิง (ไม่ปรากฏพระนาม) ''' ประสูติ [[13 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2419]] และสิ้นพระชนม์ในวันเดียวกัน ประสูติแด่พระสนมนัตสึโกะ
# '''เจ้าหญิงชิเงโกะ เจ้าอูเมะ''' ประสูติ [[25 มกราคม]] [[พ.ศ. 2421]] ประสูติแด่พระสนมนะรุโกะ
# '''เจ้าชายโยชิฮิโตะ เจ้าฮารุ''' ประสูติ [[31 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2422]] (ต่อมาคือ [[จักรพรรดิไทโช]]) ประสูติแด่พระสนมนะรุโกะ
# '''เจ้าชายยูกิฮิโตะ เจ้าทาเกะ''' ประสูติ [[23 กันยายน]] [[พ.ศ. 2423]] ประสูติแด่พระสนมนะรุโกะ
# '''เจ้าหญิงอากิโกะ เจ้าชิเงะ''' ประสูติ [[3 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2427]] ประสูติแด่ พระสนมโคโตะโกะ
# '''เจ้าหญิงฟูมิโกะ เจ้ามาซุ''' ประสูติ [[26 มกราคม]] [[พ.ศ. 2429]]' ประสูติแด่พระสนมโคโตะโกะ
# '''เจ้าหญิงชิซูโกะ เจ้าฮิซะ''' ประสูติ [[10 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2432]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''เจ้าชายมิชิฮิโตะ เจ้าอากิ''' ประสูติ [[พ.ศ. 2433]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''[[เจ้าหญิงมะซะโกะ ทะเคะดะ|เจ้าหญิงมาซาโกะ เจ้าทาซูเนะ]]''' ประสูติ [[30 กันยายน]] [[พ.ศ. 2434]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''[[ฟุซะโกะ คิตะชิระกะวะ|เจ้าหญิงฟูซาโกะ เจ้าคาเนะ]]''' ประสูติ [[28 มกราคม]] [[พ.ศ. 2436]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''เจ้าหญิงโนบูโกะ เจ้าฟูมิ''' ประสูติ [[7 สิงหาคม]] [[พ.ศ. 2437]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''เจ้าชายเทะรุฮิโตะ เจ้ามิซุ''' ประสูติ [[พ.ศ. 2439]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''เจ้าหญิงโทชิโกะ เจ้ายาซุ''' ประสูติ [[11 พฤษภาคม]] [[พ.ศ. 2442]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
# '''เจ้าหญิงทากิโกะ เจ้าซาดะ''' ประสูติ [[พ.ศ. 2443]] ประสูติแด่พระสนมซะชิโกะ
 
== ประชวรและเสด็จสวรรคต ==
[[ไฟล์:Meiji last photo.jpg|130px|thumb|จักรพรรดิเมจิในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1909]]
ในช่วงปลายรัชกาล พระจักรพรรดิทรงต้องทนทุกข์ทรมานอยู่กับ[[โรคเบาหวาน]] และ[[โรคไบร์ท]] (''โรคไต''อย่างหนึ่ง) ที่พระอาการมีแต่ทรุดลง จนในรัฐพิธีหลายวาระ สมเด็จพระจักรพรรดิทรงอ่อนเพลียอย่างหนักให้ผู้คนสังเกตเห็นได้อย่างชัดเจน ซึ่งในปีที่พระองค์เสด็จสวรรคตก่อนฤดูร้อนปี [[พ.ศ. 2455]] นั้น ก็ยังไม่มีสัญญาณบอกเหตุว่าจะเสด็จสวรรคตในปีเดียวกันนั้น
 
เดือนมกราคมปี [[พ.ศ. 2455]] พระจักรพรรดิเสด็จร่วมงานประกวดกวีนิพนธ์ใน[[วันปีใหม่]]ที่จัดขึ้นในพระราชวังเป็นประจำอย่างเช่นทุกปีเช่นที่เคยทรงปฏิบัติมา
 
เดือนกุมภาพันธ์ สมเด็จพระจักรพรรดิทรงพระประชวร แต่ไม่นานพระอาการก็ดีขึ้น สามารถทรงงานตามหมายงานที่กำหนดได้ตามปรกติเป็นต้นว่า
* วันที่ [[30 พฤษภาคม]] เสด็จไปร่วมพิธีสำเร็จการศึกษาของโรงเรียนเตรียมทหารในสังกัดกองทัพบก ทรงตรวจแถวนักเรียนที่เพิ่งจบ และพระราชทานปริญญาบัตร
* วันที่ [[28 มิถุนายน]] เสด็จออกต้อนรับนายชาร์ล วิลเลี่ยม เอลเลียต อดีตอธิการบดีประจำ[[มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด]] มีแขกผู้มีเกียรติทั้งชาวญี่ปุ่นและต่างประเทศมาร่วมด้วย
* แต่ในวันที่ [[10 กรกฎาคม]] ขณะเสด็จไปยัง[[มหาวิทยาลัยโตเกียวอิมพีเรียล]]เพื่อพระราชทานปริญญาบัตรในพิธีสำเร็จการศึกษา สมเด็จพระจักรพรรดิทรงรู้สึกไม่มีเรี่ยวแรง และทรงพระดำเนินขึ้นบันไดได้อย่างยากเย็น ซึ่ง 5 วันต่อมาขณะกำลังจะประทับในที่ประชุมสภา[[องคมนตรี]] พระวรกายเกิดอาการสั่นอย่างแรง ระหว่างการประชุมก็ทรงเผลอหลับไปกับที่ประทับ สีพระพักตร์บอกได้ว่าเพลียหนักอย่างชัดเจน
 
วันที่ 19 เดือนเดียวกัน ได้เสด็จไปประทับที่โต๊ะทรงพระอักษร แต่ทรงเหนื่อยเกินกว่าจะทรงงานใด ๆ ได้ และขณะกำลังจะประทับยืนขึ้นนั่นเอง ทรงล้มลง บรรดาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญจาก[[มหาวิทยาลัยโตเกียว|มหาวิทยาลัยโตเกียวแห่งสมเด็จพระจักรพรรดิ]]ถูกเรียกตัวมาช่วยคณะแพทย์หลวงถวายการรักษาอย่างเร่งด่วน ซึ่งรัฐบาลได้ตัดสินแถลงข่าวให้สาธารณชนได้รับทราบในทันที
เส้น 118 ⟶ 115:
ระยะเวลาหลายวันต่อจากนั้น [[หนังสือพิมพ์]]ต่างพากันรายงานถึงพระอาการอย่างละเอียด ทั้งพระอัตราชีพจรที่อ่อนลงเรื่อย ๆ และการทำงานเสื่อมทรุดลงของอวัยวะต่าง ๆ ประชาชนต่างสวดอธิษฐานให้สมเด็จพระจักรพรรดิหายประชวร มหาชนมารวมตัวกันอยู่รายรอบพระราชวัง หลายคนคุกเข่าหรือหมอบกราบอยู่กับพื้น
 
ท้ายที่สุดสมเด็จพระจักรพรรดิเสด็จสวรรคตด้วยอาการพระหทัยวาย เมื่อเวลา 0.43 นาฬิกา ของวันที่ [[30 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2455]] พระชนมายุได้ 60 พรรษา ณ [[พระราชวังโตเกียว]]
 
== ภายหลังการสวรรคต ==
เส้น 130 ⟶ 127:
{{คำพูด|แสงฟ้า วันนี้ ดับลงแล้ว ปล่อยให้โลก มิดมืด}}
 
คืนวันที่ [[13 กันยายน]] ประชาชนต่างยืนเบียดเสียดกันรอรับขบวนเสด็จอย่างเงียบ ๆ ขณะที่หีบบรรจุพระบรมศพบน[[พระราชยานเทียมโค]]เคลื่อนผ่านเสียงเดียวที่ได้ยินคือเสียงกงล้อบดเบา ๆ ไปบนพื้นทรายกับเสียงเอียดอาดของเพลารถ พอขบวนแห่เคลื่อนไปถึงศาลาพระราชพิธีที่สร้างขึ้นบนลานสวนสนามโอะยะมะที่เตรียมไว้สำหรับวาระนี้โดยเฉพาะ โดยมี[[จักรพรรดิไทโช]] จักรพรรดิพระองค์ใหม่ มีพระราชดำรัสสรรเสริญจักรพรรดิเมจิ เจ้าชายไซองจิ นายกรัฐมนตรี และวะตะนะเบะ ชิอะกิ สมุหราชมนเทียร ก็ได้กล่าวคำสรรเสริญแด่จักรพรรดิเมจิด้วยเช่นกัน
 
วันที่ [[15 กันยายน]] ได้อัญเชิญพระบรมศพจากกรุงโตเกียว ไปสู่นคร[[นครเกียวโต]]โดยทาง[[รถไฟ]]เพื่อประกอบพิธีฝังพระบรมศพไว้ที่[[สุสานหลวงโมะโมะยะมะ]] เขตฟุจิมิ เหตุการณ์เดียวที่ทำให้ช่วงเวลาที่คนทั้งชาติกำลังโศกเศร้าและไว้ทุกข์ต้องสะดุดไปคือข่าว นายพลโนงิ หนึ่งในวีรบุรุษจาก[[สงครามรัสเซีย-ญี่ปุ่น]] พร้อมด้วยภริยา กระทำพิธี[[อัตวินิบาตกรรม]]ภายในบ้านพักของตัวเองเมื่อวันที่ 13 กันยายน
 
สำหรับ[[ชาวญี่ปุ่น]]หลายคน การตายของนายพลโนงิ กระตุ้นให้พวกเขาหวนรำลึกถึงประเพณีปฏิบัติของ[[ซามูไร]]ในยุคกลางที่จะตามเจ้านายของตนไป[[ยมโลก]]ด้วยความจงรักภักดี แต่สำหรับคนอื่น ๆ การตายของโมงิกลับเป็นเรื่องหลงยุคหลงสมัย และขัดกับเจตนารมณ์ที่ต้องการพาญี่ปุ่นเข้าสู่การเป็นสมัยใหม่ที่จักรพรรดิเมจิทรงเป็นสัญลักษณ์
เส้น 138 ⟶ 135:
ในฐานะที่ทรงเป็นจักรพรรดิพระองค์แรกที่ปรากฏพระองค์ต่อสาธารณชน และมีพระบรมฉายาลักษณ์ไว้ให้ชมพระบารมีแทนสมเด็จพระบรมสาทิสลักษณ์เช่นในสมัยก่อน ต้องนับว่าจักรพรรดิเมจิมีพระบุคลิกภาพที่เด็ดขาด เปี่ยมด้วยพระราชอำนาจยิ่ง โดยรวมแล้ว พระราชจริยวัตรที่งามสง่าของจักรพรรดิเมจิ ส่งให้ทรงเป็นจักรพรรดิของญี่ปุ่น[[ยุคใหม่]]เพียงพระองค์เดียวที่เรียกได้ว่าทรงพระบรมเดชานุภาพ อย่างแท้จริง
 
ในปี [[พ.ศ. 2456]] รัฐสภาได้ตัดสินใจสร้าง[[ศาลเจ้าเมจิ|พระอาราม]]แห่งหนึ่งขึ้นที่เขต[[โยโยงิ]] กรุง[[กรุงโตเกียว]] เพื่ออุทิศถวายแด่ดวงพระวิญญาณ เป็นการประโลมจิตใตและบรรเทากระแสจงรักภักดีแบบสุดโต่งของประชาชาชนลงบ้าง ก่อนที่พระอารามจะสร้างเสร็จในปี [[พ.ศ. 2463]] หนุ่มสาวหลายพันคนอาสาเข้าช่วยก่อสร้างพระอาราม และปลูกต้นไม้ที่นำมาจากทุกภาคของประเทศให้เต็มพื้นที่สวนอันกว้างขวางโดยรอบ ความเทิดทูนบูชาในสมัยจักรพรรดิเมจิของพวกเขายังคงมีสูง โดยมีรายงานว่า หญิงสาวบางคนแสดงความประสงค์ที่จะถูกฝังทั้งเป็นใต้พระอารามก่อนสร้างเสร็จ โชคดีที่มีคนเกลี้ยกล่อมให้หญิงสาวเหล่านั้นตัดปอยผมของตนถวายแทน
 
== พระอิสริยยศ ==
เส้น 160 ⟶ 157:
| รูปภาพ = Flag_of_the_Japanese_Emperor.svg
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิโคเม]]
| ตำแหน่ง = [[จักรพรรดิแห่งญี่ปุ่น]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์ญี่ปุ่น
| ปี = [[พ.ศ. 2410]] - [[พ.ศ. 2455]]
| ถัดไป = [[จักรพรรดิไทโช]]
}}
}}{{จบกล่อง}}
{{สืบตำแหน่ง
| ก่อนหน้า = [[จักรพรรดิยุงฮีแห่งเกาหลี]] <br> <small>ในตำแหน่ง จักรพรรดิแห่งเกาหลี </small>
| ตำแหน่ง = [[เกาหลีภายใต้การปกครองของญี่ปุ่น|พระประมุขแห่งเกาหลี]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์ญี่ปุ่น
| ปี = [[พ.ศ. 2453]] - [[พ.ศ. 2455]]
| ถัดไป = [[จักรพรรดิไทโช]]
}}{{จบกล่อง}}
 
{{จักรพรรดิญี่ปุ่น}}
 
{{เรียงลำดับ|เมจิมจิ}}
{{birthlifetime|1852}}{{death|1912}}
 
[[หมวดหมู่:บุคคลที่เกิดในปี พ.ศ. 2395]]
[[หมวดหมู่:จักรพรรดิญี่ปุ่น]]
[[หมวดหมู่:การฟื้นฟูสมัยเมจิ]]