ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรคพิษสุนัขบ้า"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
MuanN (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 57:
 
==การวินิจฉัย==
การวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้าอาจทำได้ยาก เนื่องจากผู้ป่วยระยะแรกจะอาการคล้ายคลึงกับโรคอื่นๆอื่น ๆ หรือเหมือนการมีบุคลิกก้าวร้าวโดยทั่วไป<ref name=Merck>{{cite book|title=The Merck Veterinary Manual|year=2010|publisher=Courier Kendallville, Inc|location=Kendallville, Indiana|isbn=0-911910-93-X|page=1193|edition=10th|editor=Cynthia M. |editor2=Kahn, BA }}</ref> วิธีที่ให้ผลแม่นยำสามารถอ้างอิงได้ในการวินิจฉัยโรคนี้ต้องทำโดยการตรวจหาแอนติบอดีด้วยสารเรืองแสง (FAT) ซึ่งเป็นวิธีที่แนะนำโดยองค์การอนามัยโลก<ref>{{cite book |last=Dean |first=D.J. |first2=M.K. |last2=Abelseth |chapter=Ch. 6: The fluorescent antibody test |editor-first=M.M. |editor-last=Kaplan |editor2-first=H. |editor2-last=Koprowski |title=Laboratory techniques in rabies |publisher=World Health Organization |series=Monograph series |volume=23 |year=1973 |isbn= |page=73 |url=https://books.google.com/books?id=0jciAQAAIAAJ |edition=3rd}}</ref> วิธีนี้อาศัยโมเลกุลตรวจจับที่เรืองแสงได้ (นิยมใช้เป็นฟลูออเรสซีนไอโซไทโอไซยาเนต) ที่จับกับแอนติบอดีที่จำเพาะต่อเชื้อพิษสุนัขบ้า ทำให้สามารถจับกับแอนติเจนของเชื้อ และสามารถตรวจพบได้ด้วยวิธีการทำให้เรืองแสงและตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ (fluorescent microscopy technique) วิธีตรวจหาแอนติเจนของเชื้อด้วยการย้อมสิ่งส่งตรวจโดยตรงด้วยสารเรืองแสงนี้เป็นวิธีเดียวที่สามารถตรวจหาเชื้อได้โดยตรง ที่รวดเร็วและประหยัดที่สุด โดยไม่จำเป็นต้องอาศัยอาการหรือแหล่งที่มาของผู้ป่วยหรือสัตว์ที่ป่วย อย่างไรก็ดีสิ่งส่งตรวจที่เน่าเสียอาจทำให้ผลการตรวจด้วยวิธีนี้ไม่แม่นยำได้<ref name="Fooks AR 2009">{{cite journal |vauthors=Fooks AR, Johnson N, Freuling CM, Wakeley PR, Banyard AC, McElhinney LM, Marston DA, Dastjerdi A, Wright E, Weiss RA, Müller T | title = Emerging technologies for the detection of rabies virus: challenges and hopes in the 21st century | journal = PLoS Neglected Tropical Diseases | volume = 3 | issue = 9 | pages = e530 | year = 2009 | pmid = 19787037 | pmc = 2745658 | doi = 10.1371/journal.pntd.0000530 }}</ref> การตรวจด้วยวิธี RTPCR เป็นวิธีตรวจวินิจฉัยอีกวิธีหนึ่งที่มีความไวและความจำเพาะสูง และสะดวกมากพอที่จะสามารถใช้เป็นวิธีพื้นฐานได้ในห้องปฏิบัติการที่มีศักยภาพเพียงพอ<ref>{{cite book |last=Tordo |first=N |last2=Bourhy |first2=H |last3=Sacramento |first3=D |chapter=Ch. 10: PCR technology for lyssavirus diagnosis |editor-first=J.P. |editor-last=Clewley |title=The Polymerase Chain Reaction (PCR) for Human Viral Diagnosis |chapterurl=https://books.google.com/books?id=f4vTacTbViQC&pg=PA125 |year=1994 |publisher=CRC Press |isbn=978-0-8493-4833-4 |pages=125–145}}</ref> โดยเฉพาะในการตรวจสิ่งส่งตรวจที่เน่าเสียแล้ว<ref name="pmid12034539">{{cite journal |vauthors=David D, Yakobson B, Rotenberg D, Dveres N, Davidson I, Stram Y | title = Rabies virus detection by RT-PCR in decomposed naturally infected brains | journal = Veterinary Microbiology | volume = 87 | issue = 2 | pages = 111–8 | year = 2002 | pmid = 12034539 | doi=10.1016/s0378-1135(02)00041-x}}</ref>หรือเก็บไว้นาน<ref name="pmid17881871">{{cite journal |vauthors=Biswal M, Ratho R, Mishra B | title = Usefulness of reverse transcriptase-polymerase chain reaction for detection of rabies RNA in archival samples | journal = Japanese Journal of Infectious Diseases | volume = 60 | issue = 5 | pages = 298–9 |date=September 2007 | pmid = 17881871 }}</ref> นอกจากนี้ยังสามารถตรวจวินิจฉัยได้อย่างแม่นยำจากการตรวจชิ้นเนื้อของสมองจากร่างที่เสียชีวิตแล้ว หรืออาจใช้น้ำลาย ปัสสาวะ หรือน้ำหล่อสมองไขสันหลังของร่างที่เสียชีวิตแล้ว ก็ได้เช่นกัน แต่ผลจะไม่แม่นยำเท่าใช้ชิ้นเนื้อสมอง<ref name="Fooks AR 2009"/> การตรวจพบอินคลูชันบอดีที่เรียกว่าเนกริบอดีในเซลล์สมองถือเป็นการวินิจฉัยโรคพิษสุนัขบ้าได้ 100% แต่พบในผู้ป่วยหรือสัตว์ป่วยเพียง 80% เท่านั้น<ref name=Sherris/> กรณีมีผู้ป่วยถูกสัตว์กัด หากเป็นไปได้ควรตามสัตว์ที่กัดนั้นมาตรวจหาเชื้อ<ref name="Ly2009">{{cite journal |vauthors=Ly S, Buchy P, Heng NY, Ong S, Chhor N, Bourhy H, Vong S | title = Rabies situation in Cambodia | journal = PLoS Neglected Tropical Diseases | volume = 3 | issue = 9 | pages = e511 | year = 2009 | pmid = 19907631 | pmc = 2731168 | doi = 10.1371/journal.pntd.0000511 | url = http://www.plosntds.org/article/fetchObjectAttachment.action?uri=info%3Adoi%2F10.1371%2Fjournal.pntd.0000511&representation=PDF | editor1-last = Carabin | editor1-first = Hélène | format = PDF | id = e511 }}</ref>
== การป้องกัน ==
การป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าที่ดีที่สุดคือ ระวังอย่าให้ถูกสุนัขกัดหรือแมวกัด เพราะการติดเชื้อ ส่วนใหญ่จะมาจากน้ำลายสัตว์ที่เป็นโรคอยู่แล้ว ที่สำคัญที่สุด คือ การเสริมภูมิคุ้มกันในสุนัข ซึ่งเป็นสัตว์นำโรคหลัก รวมทั้ง การควบคุมจำนวนสุนัข