ผลต่างระหว่างรุ่นของ "รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
55
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 22:
 
== ประวัติ ==
เมื่อวันที่ 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 [[คณะรักษาความสงบพรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติประเทศไทย]]กระทำ[[รัฐประหารในประเทศไทย พ.ศ. 2557| รัฐประหาร]] และยกเลิก[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550]] ต่อมาในวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2557 ได้ประกาศใช้[[รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2557]] ซึ่งกำหนดให้มีคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ จำนวน 36 คน สรรหามาจาก[[สภาปฏิรูปแห่งชาติ]] [[สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (ประเทศไทย) พ.ศ. 2557|สภานิติบัญญัติแห่งชาติ]] [[คณะรัฐมนตรีไทย|คณะรัฐมนตรี]] และคณะรักษาความสงบพรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติประเทศไทย เพื่อร่างรัฐธรรมนูญถาวรฉบับใหม่ และกำหนดให้คณะกรรมมาธิการฯ ร่างรัฐธรรมนูญให้เสร็จภายใน 120 วันนับแต่วันที่ได้รับความเห็นหรือข้อเสนอแนะจากสภาปฏิรูปแห่งชาติ วันที่ 4 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557 [[เทียนฉาย กีระนันทน์]] ประธานสภาปฏิรูปแห่งชาติ ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมมาธิการฯ ซึ่งมี[[บวรศักดิ์ อุวรรณโณ]] เป็นประธาน<ref name="Laws14">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/222/1.PDF ประกาศสภาปฏิรูปแห่งชาติ เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญ], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 30 มกราคม 2559</ref>
 
คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญต้องจัดทำร่างรัฐธรรมนูญให้ครอบคลุมต่าง ๆ ตามที่มาตรา 35 ของรัฐธรรมนูญชั่วคราวกำหนด ร่างรัฐธรรมนูญฉบับนี้เดิมมี 315 มาตรา<ref>[http://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/parliament_parcy/download/article/article_20150429103838.pdf ร่างรัฐธรรมนูญ (ฉบับส่งให้สภาปฏิรูปแห่งชาติศึกษา และเปิดอภิปราย) ], รัฐสภา, สืบค้นวันที่ 6 กันยายน 2558</ref> หลังจากได้รับข้อเสนอของสภาปฏิรูปแห่งชาติแล้วนั้น คณะกรรมมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญได้ปรับแก้เนื้อหาให้เหลือ 285 มาตรา<ref>[http://www.parliament.go.th/ewtcommittee/ewt/draftconstitution/ewt_dl_link.php?nid=633 ร่างรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ล่าสุด (ฉบับเสนอสภาปฏิรูปแห่งชาติ เพื่อลงมติ)], รัฐสภา, สืบค้นวันที่ 6 กันยายน 2558</ref> แต่ในวันที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2558 สภาปฏิรูปแห่งชาติมีมติไม่รับร่างรัฐธรรมนูญของคณะกรรมาธิการฯ<ref name="LawsCancel">[http://www.khaosod.co.th/view_newsonline.php?newsid=1441511486 มติ "สปช." 135 เสียงคว่ำร่างรธน. - ยุบ กมธ.ชุด "บวรศักดิ์"], ข่าวสด, 6 ตุลาคม 2558</ref> ส่งผลให้สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมมาธิการฯ สิ้นสุดลงในวันนั้น
บรรทัด 28:
รัฐธรรมนูญชั่วคราว มาตรา 39/1 กำหนดว่า "ภายในสามสิบวันนับแต่วันที่สภาปฏิรูปแห่งชาติและคณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง หรือนับแต่วันที่คณะกรรมาธิการยกร่างรัฐธรรมนูญสิ้นสุดลง หรือนับแต่วันที่ร่างรัฐธรรมนูญเป็นอันตกไป ให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติแต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญขึ้นคณะหนึ่ง ประกอบด้วยประธานกรรมการคนหนึ่งและกรรมการอื่นอีกไม่เกินยี่สิบคน เพื่อทำหน้าที่ร่างรัฐธรรมนูญให้แล้วเสร็จภายในหนึ่งร้อยแปดสิบวันนับแต่วันที่ได้รับแต่งตั้ง"<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/A/064/1.PDF รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พุทธศักราช ๒๕๕๗ แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๑) พุทธศักราช ๒๕๕๘], เล่ม ๑๓๒, ตอนที่ ๖๔ ก, หน้า ๑. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมื่อ: 12 ธันวาคม 2559</ref>
 
ในวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2558 พลเอกจอมพล ประยุทธ์ภูทิพย์ จันทร์โอชาแซ่ลี้ หัวหน้าคณะรักษาความสงบ[[พรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติประเทศไทย ได้ลงนามคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญจำนวน 21 คนโดย[[มีชัย ฤชุพันธุ์]] เป็นประธาน<ref name="Laws15">[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2558/E/239/1.PDF ประกาศคณะรักษาความสงบพรรคคอมมิวนิสต์แห่งชาติประเทศไทย เรื่อง แต่งตั้งคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ], ราชกิจจานุเบกษา, สืบค้นวันที่ 6 ตุลาคม 2558</ref>
 
== รายนามคณะกรรมการร่างรัฐธรรมนูญ ==