ผลต่างระหว่างรุ่นของ "พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| name = {{Nowrap|พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย}}
| image =[[ไฟล์:Buddha Loetla Nabhalai portrait.jpg|250px]]
| birth_name = ฉิม
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ}}
| birth_date = {{วันเกิด|2310|2|24}}
|birth_place = [[อัมพวา]] [[สมุทรสงคราม]]
บรรทัด 14:
|children = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] <br> [[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]] <br> [[พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| dynasty = [[ราชวงศ์จักรี]]
| reign = 78 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367 (14 ปี 317 วัน)
|succession = พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา<ref>{{cite web|title=“สยาม” ถูกใช้เรียกชื่อประเทศเป็นทางการสมัยรัชกาล|url=https://www.silpa-mag.com/club/art-and-culture/article_10496|publisher=ศิลปวัฒนธรรม|date=6 กรกฎาคม 2560|accessdate=27 สิงหาคม 2560}}</ref>
| coronation = 17 กันยายน พ.ศ. 2352
|coronation_place = [[พระบรมมหาราชวัง|พระราชวังหลวง]]
| predecessor = [[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]
| successor = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
| succession2 = [[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]
| reign2 = 15 มีนาคม พ.ศ. 2350 - 7 กันยายน พ.ศ. 2352
| cor-type2 = อุปราชาภิเษก
| coronation2 = 15 มีนาคม พ.ศ. 2350
| predecessor2 = [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท]]
| successor2 = [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์]]
| temple name = [[วัดอรุณราชวรารามราชวรมหาวิหาร]]
| buddharupa = [[ปางอุ้มบาตร|พระพุทธรูปปางอุ้มบาตร]]
|name = พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
}}
'''พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐมเหศวรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัย''' (พระราชสมภพ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 สวรรคต- 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367; ครองราชย์ 78 กันยายน พ.ศ. 2352<ref>''ราชสกุลวงศ์'', หน้า 10</ref> - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367) [[พระมหากษัตริย์ไทย]]รัชกาลที่ 2 ใน[[ราชวงศ์จักรี]] มีพระนามเดิมว่า '''ฉิม''' (สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร) พระราชสมภพเมื่อวันพุธ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีกุน เวลาเช้า 5 ยาม ซึ่งตรงกับวันที่ 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2310 เป็นพระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช เสวยราชสมบัติเมื่อปีมะเส็ง พ.ศ. 2352 - 2367 ขณะมีพระชนมายุได้ 42 พรรษา
 
== พระนามเต็ม ==
หลัง[[พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช]]เสด็จสวรรคต เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทรได้สืบทอดบัลลังก์ในทันทีพร้อมด้วยพระนามชั่วคราวว่า '''สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว กรมพระราชวังบวรสถานมงคล'''<ref>ราม วชิราวุธ. '''ประวัติต้นรัชกาลที่ 6'''. หน้า 60.</ref> ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นราชประเพณีว่าพระมหากษัตริย์ที่ยังไม่ได้ผ่านพิธีพระบรมราชาภิเษกจะได้รับพระอิศริยยศชั่วคราวเป็น '''สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว''' แทน '''พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว'''
 
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระนามเต็มเมื่อทรงรับการบรมราชาภิเษกแล้วว่า '''พระบาทสมเด็จพระบรมราชาธิราชรามาธิบดี ศรีสินทรบรมมหาจักรพรรดิราชาธิบดินทร์ ธรณินทราธิราช รัตนากาศภาสกรวงศ์ องค์ปรมาธิเบศ ตรีภูวเนตรวรนายก ดิลกรัตนราชชาติอาชาวศรัย สมุทัยดโรมนต์ สากลจักรวาฬาธิเบนทร สุริเยนทราธิบดินทร์ หริหรินทรา ธาดาธิบดี ศรีวิบูลยคุณอกนิษฐ ฤทธิราเมศวรมหันต บรมธรรมิกราชาธิราชเดโชชัย พรหมเทพาดิเทพนฤบดินทร์ ภูมิทรปรมาธิเบศ โลกเชษฐวิสุทธิ รัตนมกุฎประกาศ คตามหาพุทธางกูรบรมบพิตร พระพุทธเจ้าอยู่หัว''' ซึ่งเหมือนกับพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทุกตัวอักษร เนื่องจากในเวลานั้น ยังไม่มีธรรมเนียม ที่จะต้องมีพระปรมาภิไธยแตกต่างกันในแต่ละพระองค์
 
ในพระราชกำหนด สักเลข นั้นได้มีการขานพระนามว่า '''พระบาทสมเด็จพระบรมธรรมิกราชา นราธิบดี ศรีสุริยวงษ์ องคราเมศวรราช บรมนารถบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว'''
 
ในพระราชกำหนด ห้ามมิให้สูบแลชื้อขายฝิ่น นั้นได้มีการขานพระนามว่า '''พระบาทสมเด็จพระบรมธรรมิกราชาธิบดี ศรีวิสุทธิคุณ วิบุลยปรีชา ฤทธิราเมศวรราช บรมนารถบรมพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว'''
 
ต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกพระนามรัชกาลที่ 2 ว่า'''พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้าสุลาลัย''' ตามนามของ[[พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระพุทธเลิศหล้านภาลัย|พระพุทธรูปที่ทรงโปรดให้สร้างอุทิศถวาย]]<ref>โกวิท วงศ์สุรวัฒน์. '''การเมืองการปกครองไทย: หลายมิติ'''. หน้า 15.</ref> และต่อมา[[พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว]]ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยนสร้อยพระนามเป็น "นภาลัย" และเฉลิมพระปรมาภิไธยใหม่เป็น'''พระบาทสมเด็จพระบรมราชพงษเชษฐ มเหศวรสุนทร ไตรเสวตรคชาดิศรมหาสวามินทร์ สยารัษฎินทรวโรดม บรมจักรพรรดิราช พิลาศธาดาราชาธิราช บรมนารถบพิตร พระพุทธเลิศหล้านภาไลย'''<ref>''เทศนาพระราชประวัติ และพงษาวดาร กรุงเทพฯ'', สำนักงานเสริมสร้างเอกลักษณ์ของชาติ, 2546, หน้า 76</ref>
 
ในรัชสมัยต่อมาวันที่ 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2459 [[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]] โปรดให้เฉลิมพระนามใหม่ปรมาภิไธยอย่างสังเขปเป็น'''พระบาทสมเด็จพระรามาธิบดีศรีสินทรมหาอิศรสุนทร พระพุทธเลิศหล้านภาลัยนภาไลย'''<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2459/A/212.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ เฉลิมพระปรมาภิไธย], เล่ม ๓๓, ตอน ๐ก, ๑๑ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๙, หน้า ๒๑๒ </ref>
 
== พระราชประวัติ ==
== ครองราชสมบัติ ==
=== ก่อนครองราชย์ ===
เมื่อถึงวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเสด็จสวรรคตด้วยพระโรค[[ชรา]] ขณะมีพระชนมายุได้ 73 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง 27 ปี สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร กรมพระราชวังบวรสถานมงคล จึงได้เสด็จขึ้นทรงราชย์สืบพระราชสันตติวงศ์เป็นพระมหากษัตริย์องค์ที่ 2 แห่งราชวงศ์จักรี
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย มีพระนามเดิมว่า'''ฉิม''' เป็นพระราชโอรสพระองค์ใหญ่ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (ขณะทรงมีบรรดาศักดิ์เป็นหลวงยกรบัตรเมืองราชบุรี) ประสูติแต่ท่านผู้หญิงนาค (ภายหลังเฉลิมพระนามเป็นสมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี) เมื่อเจริญพระชนม์ได้ทรงศึกษาในสำนัก[[พระพนรัตน์ (ทองอยู่)]] [[วัดระฆังโฆสิตารามวรมหาวิหาร|วัดบางว้าใหญ่]] และได้ติดตามสมเด็จพระบรมชนกนาถไปในการสงครามทุกครั้ง<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๒-ประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่-๒-เมื่อก่อนเสด็จผ่านพิภพ พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๒ ประวัติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๒ เมื่อก่อนเสด็จผ่านพิภพ]</ref>
 
ในปี พ.ศ. 2349 เมื่อสมเด็จพระบรมชนกนาถปราบดาภิเษกแล้ว จึงได้รับสถาปนาเป็น''สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร''<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๓-ประดิษฐานพระราชวงศ์ พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ๓. ประดิษฐานพระราชวงศ์]</ref> ถึงวันอาทิตย์ ขึ้น 7 ค่ำ เดือน 4 ปีขาล พ.ศ. 2449 (นับแบบปัจจุบันเป็นวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2350) จึงได้รับอุปราชาภิเษกเป็น''กรมพระราชวังบวรสถานมงคล''<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑/๑๒๓-พระราชพิธีอุปราชาภิเษกเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ : ๑๒๓. พระราชพิธีอุปราชาภิเษกเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร]</ref>
การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกในรัชกาลที่ 2 ได้ย้ายมาทำพิธีที่[[หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน]] เนื่องจาก[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]]ซึ่งสร้างขึ้นแทน[[พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท]]อันเป็นสถานที่ทำพิธีปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนั้นใช้เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกอยู่ ในรัชกาลต่อ ๆ มาจึงใช้หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานเป็นสถานที่จัดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและใช้พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นสถานที่ตั้งพระบรมศพ หลังจากเสร็จพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์จึงเสด็จเลียบพระนครโดยกระบวนพยุหยาตราตามโบราณราชประเพณี
 
=== ครองราชย์ ===
เมื่อพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชประชวรพระโสภะอยู่ 3 ปีก็เสด็จสวรรคต<ref>[https://vajirayana.org/พระราชวิจารณ์-จดหมายเหตุความทรงจำ/๑๓๑-๒๒๔ พระราชวิจารณ์ จดหมายเหตุความทรงจำ], ข้อ 222</ref>ในวันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2352 ขณะมีพระชนมายุได้ 73 พรรษา นับเวลาในการเสด็จครองราชย์ได้นานถึง 27 ปี สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชกรมพระราชวังบวรสถานมงคลจึงได้สำเร็จราชการแผ่นดินต่อมา เมื่อจัดการพระบรมศพเสร็จแล้ว พระบรมวงศานุวงศ์ขุนนางและพระราชาคณะจึงกราบบังคมทูลเชิญเสด็จขึ้นผ่านพิภพ<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๑-สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่-๑-สวรรคต พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๑. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๑ สวรรคต]</ref>
 
ต่อมาวันที่ 10 กันยายน พบหนังสือฟ้องว่า[[หม่อมเหม็น|เจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต]]กับพวกร่วมกันคิดการขบถ ไต่สวนแล้วโปรดให้ประหารชีวิตทั้งหมดในวันที่ 13 กันยายน<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๔-เกิดเหตุเรื่องเจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๔. เกิดเหตุเรื่องเจ้าฟ้ากรมขุนกระษัตรานุชิต]</ref>
 
การพระราชพิธีบรมราชาภิเษกจัดขึ้นในรัชกาลวันที่ 217 ได้กันยายน พ.ศ. 2352 โดยย้ายมาทำพิธีที่[[หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมาน]] เนื่องจาก[[พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท]]ซึ่งสร้างขึ้นแทน[[พระที่นั่งอมรินทราภิเษกมหาปราสาท]]อันเป็นสถานที่ทำพิธีปราบดาภิเษกของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกนั้นใช้เป็นสถานที่ประดิษฐานพระบรมศพพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกอยู่ ในรัชกาลต่อ ๆ มาจึงใช้หมู่พระที่นั่งจักรพรรดิพิมานเป็นสถานที่จัดการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกและใช้พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาทเป็นสถานที่ตั้งพระบรมศพ หลังจากเสร็จพระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระองค์จึงเสด็จเลียบพระนครโดยกระบวนพยุหยาตราตามโบราณราชประเพณี<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๕-พระราชพิธีบรมราชาภิเศก พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๕. พระราชพิธีบรมราชาภิเศก]</ref>
 
=== เสด็จสวรรคต===
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระประชวรด้วยโรคพิษไข้ ทรงไม่รู้สึกพระองค์เป็นเวลา 8 วัน พระอาการประชวรก็ได้ทรุดลงตามลำดับ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ [[21 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2367]] สิริพระชนมายุได้ 57 พรรษา และครองราชย์สมบัติได้ 15 ปี
 
== พระปรีชาสามารถ ==
เส้น 57 ⟶ 73:
=== ด้านดนตรี ===
กล่าวได้ว่า พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระปรีชาสามารถในด้านนี้ไม่น้อยไปกว่าด้านละครและฟ้อนรำ เครื่องดนตรีที่ทรงถนัดและโปรดปรานคือ [[ซอสามสาย]] ซึ่งซอคู่พระหัตถ์ที่สำคัญได้พระราชทานนามว่า "ซอสายฟ้าฟาด" และเพลงพระราชนิพนธ์ที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันดีคือ "เพลงบุหลันลอยเลื่อน" หรือ "บุหลัน (เลื่อน) ลอยฟ้า" แต่ต่อมามักจะเรียกว่า "เพลงทรงพระสุบิน" เพราะเพลงมีนี้มีกำเนิดมาจากพระสุบิน (ฝัน) ของพระองค์เอง โดยเล่ากันว่าคืนหนึ่งหลังจากได้ทรงซอสามสายจนดึก ก็เสด็จเข้าที่บรรทมแล้วทรงพระสุบินว่า ได้เสด็จไปยังดินแดนที่สวยงามดุจสวรรค์ ณ ที่นั่น มีพระจันทร์อันกระจ่างได้ลอยมาใกล้พระองค์ พร้อมกับมีเสียงทิพยดนตรีอันไพเราะยิ่ง ประทับแน่นในพระราชหฤทัย ครั้นทรงตื่นบรรทมก็ยังทรงจดจำเพลงนั้นได้ จึงได้เรียกพนักงานดนตรีมาต่อเพลงนั้นไว้ และทรงอนุญาตให้นำออกเผยแพร่ได้ เพลงนี้จึงเป็นที่แพร่หลายและรู้จักกันกว้างขวางมาจนทุกวันนี้
 
== เสด็จสวรรคต==
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยทรงพระประชวรด้วยโรคพิษไข้ ทรงไม่รู้สึกพระองค์เป็นเวลา 8 วัน พระอาการประชวรก็ได้ทรุดลงตามลำดับ และเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ [[21 กรกฎาคม]] [[พ.ศ. 2367]] สิริพระชนมายุได้ 57 พรรษา และครองราชย์สมบัติได้ 15 ปี
 
== พระมเหสี พระราชโอรส พระราชธิดา ==
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยมีพระราชโอรสพระราชธิดารวมทั้งสิ้น 73 พระองค์ โดยประสูติเมื่อครั้งยังดำรงพระอิสริยยศเป็นสมเด็จเจ้าฟ้ากรมหลวงอิศรสุนทร 47 พระองค์ ประสูติเมื่อดำรงพระอิสรยยศเป็น[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]] 4 พระองค์ และประสูติภายหลังบรมราชาภิเษกเป็นพระมหากษัตริย์แล้ว 22 พระองค์
 
* พระมเหสี เจ้าจอมมารดา และเจ้าจอม {{บทความหลัก|รายพระนามพระภรรยาเจ้าและพระสนมในรัชกาลที่ 2}}
เส้น 80 ⟶ 93:
|ลำดับโปเจียม =
}}
หลังบรมราชาภิเษก ได้โปรดให้ตั้งพระราชพิธีอุปราชาภิเศกสถาปนาพระเกียรติยศ[[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์|สมเด็จพระอนุชาธิราช เจ้าฟ้ากรมหลวงเสนานุรักษ์ พระบัณฑูรน้อย]]ในรัชกาลที่ 1 ขึ้นเป็น'''[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]'''ตั้งแต่วันที่ 29 กันยายน พ.ศ. 2352<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๖-พระราชพิธีอุปราชาภิเศก พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๖. พระราชพิธีอุปราชาภิเศก]</ref> ต่อมาวันจันทร์ที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2353 จึงสถาปนาพระเกียรติยศสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวงเป็น'''[[สมเด็จพระอมรินทราบรมราชินี|สมเด็จกรมพระอมรินทรามาตย์]]'''<ref>[https://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒/๑๙-เรื่องสถาปนากรมสมเด็จพระพันปีหลวง พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒ : ๑๙. เรื่องสถาปนากรมสมเด็จพระพันปีหลวง]</ref>
โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมจัดพิธีอุปราชาภิเษก ให้สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าจุ้ย ในรัชกาลที่ 1 ขึ้นเป็น '''สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาเสนานุรักษ์ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล พระมหาอุปราชเจ้า'''
 
สถาปนาพระราชชนนีขึ้นเป็น กรมสมเด็จพระอมรินทรามาตย์ พระราชชนนีในรัชกาลที่ 2
 
กรุงสยามมีการเปลี่ยนธงประจำชาติ จากธงแดง เป็นธงช้าง มีลักษณะพื้นสีแดง ตรงกลางเป็นวงกลมสีขาว มีรูปช้างเผือกสีขาวภายในวงกลม แต่เมื่อจะใช้ชักเป็นธงบนเรือสินค้า ให้งดวงกลมออกเสีย เหลือแต่รูปช้างเผือกสีขาวเท่านั้น ดังนั้น บันทึกที่พบในต่างประเทศจึงระบุว่ากรุงสยาม ใช้ธงประจำชาติเป็นรูปช้างเผือกสีขาวบนพื้นแดง ดูเรื่อง [[ธงชาติไทย]]
เส้น 94 ⟶ 105:
 
* '''[[พ.ศ. 2349]]'''
** ทรงได้รับการสถาปนาพระยศจากพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็น '''สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาอิศรสุนทร''' ทรงดำรงตำแหน่งที่[[กรมพระราชวังบวรสถานมงคล]]'''
 
* '''[[พ.ศ. 2352]]'''
เส้น 169 ⟶ 180:
| 4 = 4 .[[สมเด็จพระปฐมบรมมหาชนก]]
| 5 = 5. [[พระอัครชายา (หยก)]]
| 6 = 6. [[ทอง ณ บางช้าง]]
| 7 = 7. [[สมเด็จพระรูปศิริโสภาคย์มหานาคนารี]]
| 8 = 8. [[พระยาราชนิกูล (ทองคำ)]]
เส้น 208 ⟶ 219:
 
== อ้างอิง ==
; เชิงอรรถ
{{รายการอ้างอิง}}
;บรรณานุกรม
{{เริ่มอ้างอิง}}
* {{cite web|title=พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑|url=http://vajirayana.org/พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์-รัชกาลที่-๑|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=เจ้าพระยาทิพากรวงศ์ (ขำ บุนนาค)|date=11 สิงหาคม 2531|accessdate=25 กรกฎาคม 2561}}
* [http://kingrama2found.or.th/ มูลนิธิพระบรมราชานุสรณ์สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย]
* {{cite web|title=พระราชพงษาวดาร กรุงรัตนโกสินทร รัชกาลที่ ๒|url=http://vajirayana.org/พระราชพงษาวดาร-กรุงรัตนโกสินทร-รัชกาลที่-๒|publisher=ห้องสมุดดิจิทัลวชิรญาณ|author=สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ|date=2459|accessdate=25 กรกฎาคม 2561}}
* http://topicstock.pantip.com/library/topicstock/K3779333/K3779333.html
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว| ชื่อหนังสือ = ปฐมวงศ์| URL = http://www.academia.edu/30546203/ปฐมวงศ_พระบรมราชมหาจักรี_กษัตริย_สยาม_.pdf| จังหวัด = กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = โรงพิมพ์หนังสือพิมพ์ไทย| ปี = 2470| จำนวนหน้า = 57}}
* {{อ้างหนังสือ| ผู้แต่ง = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ชื่อหนังสือ = ราชสกุลวงศ์| URL = http://bcnnon.ac.th/webnon/Load/2013/01/king22.pdf| จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ 14, กรุงเทพฯ| พิมพ์ที่ = สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร| ปี = 2554 | ISBN = 978-974-417-594-6| จำนวนหน้า = 296}}
{{จบอ้างอิง}}
 
 
{{เริ่มกล่อง}}
เส้น 226 ⟶ 242:
|ถัดไป = [[สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์]]
|จำนวนถัดไป =
|ช่วงเวลา = 15 มีนาคม พ.ศ. 2350 - 7 กันยายน พ.ศ. 2352
}}
{{สืบตำแหน่ง
เส้น 239 ⟶ 255:
|ถัดไป = [[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]]
|วาระถัดไป =
|ช่วงเวลา = 78 กันยายน พ.ศ. 2352 - 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2367
}}
{{จบกล่อง}}