ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระมหากษัตริยานี สีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ กุสุมะ นารีรัตน์ สิรีวัฒนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
Xiengyod~commonswiki ย้ายหน้า พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีวัฒนา ไปยัง พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์สิริวัฒนา: แก้การทับศัพท์ (เอกสารยุคเก่าสะกด สิริวัฒนา ไม่ใช่ เสรีวัฒนา)
Xiengyod~commonswiki (คุย | ส่วนร่วม)
แก้ เสรีวัฒนา เป็น สิริวัฒนา ทุกแห่ง
บรรทัด 1:
{{Infobox Monarch
| name = พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์<br />กุสุมะนารีรัตน์เสรีสิริวัฒนา
| ภาพ = ไฟล์:Queen Sisowath Kossamak (1967).jpg
| วันพระราชสมภพ = 9 เมษายน พ.ศ. 2447<br>[[พนมเปญ]] [[อินโดจีนของฝรั่งเศส]]
บรรทัด 17:
}}
 
'''พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีสิริวัฒนา''' ({{lang-km|ស៊ីសុវត្ថិមុនីវង្ស កុសុមៈនារីរ័ត្នសេរីវឌ្ឍនាកុសុមៈនារីរ័ត្នសិរិវឌ្ឍនា}}; 9 เมษายน พ.ศ. 2447 — 27 เมษายน พ.ศ. 2518) พระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์]] ที่ต่อมาได้รับราชการฝ่ายในเป็นพระอัครมเหสีใน[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต]] และได้เป็นพระราชชนนีใน[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุ]] หลังการสวรรคตของพระราชสวามี
 
==พระราชประวัติ==
[[ไฟล์:008 big.jpg|thumb|right|250px|พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีสิริวัฒนา พร้อมด้วยข้าราชบริพาร ณ ตำหนักฝ่ายใน [[พระบรมราชวังจตุมุขสิริมงคล]]]]
พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีสิริวัฒนา พระราชสมภพเมื่อวันที่ 9 เมษายน พ.ศ. 2447 เป็นพระราชธิดาใน[[พระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์]] กับหม่อมเจ้านโรดม กานวิมาน นรลักข์เทวี ({{lang|km|នរោត្តម កានវិមាន នរល័ក្ខទេវី}}) ขณะมีพระชนมายุ 16 พรรษา ได้เสกสมรสกับ[[นโรดม สุรามฤต|หม่อมเจ้านโรดม สุรามฤต]]เมื่อปี พ.ศ. 2463 ทั้งสองมีพระโอรสเพียงคนเดียวคือ [[นโรดม สีหนุ|หม่อมราชวงศ์นโรดม สีหนุ]]
 
ครั้นในกาลต่อมาหม่อมราชวงศ์นโรดม สีหนุ ได้รับการเลือกจากฝรั่งเศสให้สืบราชบัลลังก์ต่อจากพระบาทสมเด็จพระสีสุวัตถิ์ มุนีวงศ์ แทน[[สมเด็จกรมพระสีสุวัตถิ์ มุนีเรศ]]พระเชษฐาของพระองค์ ซึ่งเป็น[[ทายาทผู้มีสิทธิโดยตรง]]<ref>ธิบดี บัวคำศรี. ''ชุด "อาเซียน" ในมิติประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์กัมพูชา''. กรุงเทพฯ:เมืองโบราณ. 2555, หน้า 84</ref> แต่ในปี พ.ศ. 2498 พระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุได้สละราชสมบัติแก่พระราชบิดาที่ต่อมาคือ[[พระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤต]] เพราะทรงตั้งพระทัยที่จะเป็นนักการเมือง การสละราชสมบัติครานั้นพระนางกุสุมะและพระราชสวามีทรงกรรแสงอย่างหนัก<ref>{{cite web |url= http://prachatai.com/journal/2012/10/43387 |title= เรื่องจริงไม่อิงนิยายของราชสำนักกัมพูชา (2): ชายาของพ่อ |author= สุภัตรา ภูมิประภาส |date= 30 ตุลาคม 2555 |work= ประชาไท |publisher=|accessdate= 19 ตุลาคม 2558 }}</ref> ครั้นพระบาทสมเด็จพระนโรดม สุรามฤตเสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. 2503 พระบาทสมเด็จเด็จพระนโรดม สีหนุจึงเป็นประมุขแห่งรัฐสืบมา (แต่มิใช่ในฐานะพระมหาษัตริย์)
 
ล่วงในปี พ.ศ 2513 สมาชิกสภาแห่งชาติที่วางแผนโดย[[สีสุวัตถิ์ สิริมตะ|หม่อมราชวงศ์สีสุวัตถิ์ สิริมตะ]] ที่ลงมติถอดถอนพระบาทสมเด็จพระนโรดม สีหนุจากประมุขแห่งรัฐที่ขณะนั้นยังเสด็จเยือนต่างประเทศ โดยมี[[ลอน นอล]]ลงนามถอดถอนก่อนสถาปนา[[สาธารณรัฐเขมร]]ขึ้น หลังจากนั้นได้เกิดเหตุการณ์พนมเปญแตก เมื่อเดือนเมษายน พ.ศ. 2518 ที่เกิดการสังหารเชื้อพระวงศ์และราษฎรกัมพูชาจำนวนมาก ส่งผลให้พระมหากษัตริยานีสีสุวัตถิ์มุนีวงศ์ กุสุมะนารีรัตน์เสรีสิริวัฒนา เสด็จลี้ภัยออกจากกัมพูชา ก่อนเสด็จสวรรคตเมื่อวันที่ 27 เมษายนปีเดียวกัน ณ [[ปักกิ่ง]] [[ประเทศจีน]] ขณะมีพระชนมายุ 71 พรรษา
 
== ความสนพระทัย ==
บรรทัด 34:
* http://www.guide2womenleaders.com/Cambodia_Heads.htm
 
{{เรียงลำดับ|กุสุมะนารีรัตน์เสรีสิริวัฒนา}}
{{อายุขัย|2447|2518}}
[[หมวดหมู่:บุคคลจากพนมเปญ]]