ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กูลัก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
FilmedIn (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
"องค์การบริหารส่วน" (จังหวัด/ตำบล) ก็ใช้ administration ครับ
บรรทัด 1:
[[File:Gulag Location Map.svg|upright=1.5|thumb|แผนที่ค่ายเรือนจำกูลักระหว่าง ค.ศ. 1923 และ 1961 โดยอาศัยข้อมูลจากกลุ่มสิทธิมนุษยชนเมโมเรียล]]
'''กูลัก''' ({{lang-ru|ГУЛаг}}; {{lang-en|Gulag}}, คำย่อของ '''สำนักองค์การบริหารใหญ่หลักค่ายแรงงาน'''){{Efn|{{lang-ru|'''Г'''лавное '''у'''правление '''лаг'''ерей}}, {{transl|ru|'''G'''lavnoye '''u'''pravleniye '''lag'''erey}}. The full name is believed {{by whom?|date=December 2018}} to be '''Main Administration of Camps and Places of Detention''' ({{lang-ru|'''Г'''лавное '''у'''правление '''лаг'''ерей и мест заключения}}, '''''G'''lavnoye '''u'''pravleniye '''lag'''erey i mest zaklyucheniya'') or '''Main Administration of Corrective Labor Camps and Settlements''' ({{lang-ru|'''Г'''лавное '''у'''правление исправительно-трудовых '''лаг'''ерей и колоний}}, {{transl|ru|'''G'''lavnoye '''u'''pravleniye ispravityelno-trudovykh '''lag'''erey i koloniy}}).}} เป็นหน่วยงานราชการเพื่อการกำกับดูแลระบบค่ายแรงงาน[[สหภาพโซเวียต]] ถูกจัดตั้งโดย [[วลาดีมีร์ เลนิน]]<ref>[http://www.academicresearchjournals.org/IJPSD/PDF/2014/June/Pipes.pdf Lenin's Gulag] Richard Pipes, academic research journals Vol. 2, pp 140–146, June 2014</ref><ref>[http://victimsofcommunism.org/gulag-an-introduction/ Gulag: An Introduction] {{Webarchive|url= https://web.archive.org/web/20170905220152/http://victimsofcommunism.org/gulag-an-introduction/ |date= September 5, 2017 }} by Anne Applebaum</ref> และถึงจุดสูงสุดในช่วงการปกครองของ [[โจเซฟ สตาลิน]] ระหว่างทศวรรษที่ 1930 ถึงต้นทศวรรษที่ 1950 ผู้พูดภาษาอังกฤษจะใช้คำว่า ''gulag'' ในการกล่าวถึงค่ายบังคับแรงงานสหภาพโซเวียต รวมถึงค่ายที่มีอยู่ในยุคก่อนสตาลิน<ref>{{cite news|last1= Remnick|first1= David|title= Seasons in Hell|url= http://www.newyorker.com/magazine/2003/04/14/seasons-in-hell-4|accessdate= March 27, 2017|work= The New Yorker|date= April 14, 2003}}</ref><ref>Other Soviet penal-labor systems not formally included in the GULag were: (a) camps for [[prisoners of war]] captured by the [[Soviet Union]], administered by [[GUPVI]] (b) filtration camps set up during [[World War II]] for the temporary detention of Soviet [[Ostarbeiter]]s and prisoners of war while the security organs screened them in order to "filter out" the black sheep, (c) "special settlements" for [[Exile| internal exile]]s including "[[kulaks]]" and [[Population transfer in the Soviet Union| deported ethnic minorities]], such as [[Volga Germans]], Poles, Balts, Caucasians, [[Crimean Tatars |Crimean Tartars]], and others. During certain periods of Soviet history, each of these camp systems held millions of people. Many hundreds of thousands were also sentenced to forced labor without imprisonment at their normal place of work. (Applebaum, pages 579–580)</ref> ในค่ายมีนักโทษหลากหลาย ตั้งแต่อาชญากรผู้น้อยไปจนถึงนักโทษการเมือง จำนวนมากถูกตัดสินโดยกระบวนการง่ายๆของตรอยกาของพลาธิการกิจการภายในประชาชน หรือเครื่องมืออื่นๆของ[[การลงโทษนอกระบบกฎหมาย]] กูลักได้รับการยอมรับว่าเป็นเครื่องมือสำคัญในการปราบปรามทางการเมืองของสหภาพโซเวียต
 
นักประวัติศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Nicolas Werth เขียนใน ''The Black Book of Communism'' กล่าวว่า อัตราการเสียชีวิตต่อปีในค่ายกักกันทั้งหมด แตกต่างกัน คือ 5% (ค.ศ.1933) และ 20% (ค.ศ.1942–1943) ในขณะที่ลดลงอย่างมากหลัง[[สงครามโลกครั้งที่ 2]] (ประมาณ 1 ถึง 3% ต่อปี เมื่อต้นทศวรรษที่ 1950)<ref>{{cite web|last1= Werth|first1= Nicolas|title= STATE VIOLENCE IN STALIN's REGIME : OUTLINE FOR AN INVENTORY AND CLASSIFICATION|url= http://stanford.edu/dept/france-stanford/Conferences/Terror/Werth.pdf|publisher= [[Stanford University]]|date= 20 January 2009}}</ref><ref>{{cite web | url= https://www.loc.gov/exhibits/archives/gula.html | title= Letter To the Presidium of the Central Executive Committee of the All-Union Communist Party (Bolshevik) | date=December 14, 1926 | accessdate=April 15, 2015 | author=G. Zheleznov, Vinogradov, F. Belinskii}}</ref> ความเห็นพ้องในหมู่นักวิชาการที่ใช้ข้อมูลจากหอเก็บเอกสารของทางการ ตั้งแต่ ค.ศ.1930–1953 ประมาณ 1.5 ถึง 1.7 ล้านคนเสียชีวิต [[อะเลคซันดร์ โซลเซนิตซิน]] ผู้ชนะ[[รางวัลโนเบลสาขาวรรณกรรม]]และผู้รอดชีวิตจากการถูกจองจำ 8 ปีในกูลัก มีชื่อเสียงในระดับสากลด้วยการตีพิมพ์ ''The Gulag Archipelago'' ค.ศ.1973 ผู้เขียนเปรียบค่ายกระจายตัวเหมือน "ลูกโซ่ของหมู่เกาะ" ในฐานะผู้เห็นเหตุการณ์เขาอธิบายว่า กูลักเป็นระบบที่ผู้คนทำงานจนตาย อย่างไรก็ตามนักประวัติศาสตร์บางคนตั้งคำถามถึงความน่าเชื่อถือของข้อมูลทั้งหลายดังกล่าว และแทนที่จะพึ่งพาแหล่งวรรณกรรมอย่างหนัก มีนักวิจัยเอกสารที่พบว่า "ไม่มีแผนทำลายล้าง" ต่อประชากรของกูลัก ไม่มีคำสั่งอย่างเป็นทางการที่จะฆ่าพวกเขา และนักโทษถูกปล่อยตัวเป็นจำนวนมากมาย เกินกว่าจำนวนผู้เสียชีวิต
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/กูลัก"