ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อุบัติการณ์ซีอาน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
Matable ย้ายหน้า กรณีซีอาน ไปยัง อุบัติการณ์ซีอาน
Matable (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox military conflict|conflict=อุบัติการณ์ซีอาน|partof=[[สงครามกลางเมืองจีน]]|image=[[ไฟล์:Zhang Xueliang, Yang Hucheng and Chiang Kai-shek.jpg|300px]]|caption=สามผู้นำที่มีความเกี่ยวข้องกับอุบัติการณ์ซีอาน: จาง เสวียเหลียง, หยาง หู่เฉิง และ เจียง ไคเชก|date=12 ธันวาคม – 26 ธันวาคม ค.ศ. 1936|place=[[ซีอาน]], [[จีน]]|coordinates=34.3416° N, 108.9398° E|map_type=|map_relief=|latitude=|longitude=|map_size=|map_marksize=|map_caption=|map_label=|territory=|result=สิ้นสุด[[การทัพโอบล้อม]]<br/>การก่อตั้ง[[แนวร่วมที่สอง]]<br/>สิ้นสุดชั่วคราวของ[[สงครามกลางเมืองจีน]]}}
 
'''อุบัติการณ์ซีอาน'''({{zh|t=西安事變|s=西安事变|p=Xī'ān Shìbìan|first=t}}) เป็นวิกฤตการณ์ทางการเมืองที่เกิดขึ้นใน[[ซีอาน]], [[สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)|สาธารณรัฐจีน]] ในปี ค.ศ. 1936 [[เจียง ไคเชก]] ผู้นำแห่ง[[สาธารณรัฐจีน (ค.ศ. 1912–1949)|สาธารณรัฐจีน]] ได้ถูกควบคุมตัวโดยลูกน้องของเขา นายพล [[จาง เสวียเหลียง]] และ[[หยาง หู่เฉิง]] เพื่อบังคับให้พรรคชาตินิยมจีนที่ปกครองอยู่([[ก๊กมินตั๋ง]]หรือ KMT) เปลี่ยนนโยบายเกี่ยวกับ[[จักรวรรดิญี่ปุ่น]]และ[[พรรคคอมมิวนิสต์จีน]](CPC){{sfn|Taylor|2009|p=136–37}}
 
ก่อนเกิดเหตุอุบัติการณ์ เจียง ไคเชกได้มุ่งเน้นไปที่การสู้รบปราบปรามกับคอมมิวนิสต์ภายในประเทศจีนมากกว่าภัยคุกคามภายนอกจากญี่ปุ่น หลังเหตุอุบัติการณ์, เจียงได้ยอมร่วมมือกับคอมมิวนิสต์ในการต่อต้านญี่ปุ่น วิกฤตการณ์ได้สิ้นสุดลงภายหลังจากการเจราจาสองสัปดาห์ ซึ่งเจียงได้รับการปล่อยตัวในที่สุด และเดินทางกลับสู่เมือง[[หนานจิง]] พร้อมกับจาง เจียงได้ตกลงที่จะยุติสงครามกลางเมืองกับพรรคคอมมิวนิสต์ และเริ่มเตรียมความพร้อมสำหรับสงครามที่กำลังจะเกิดขึ้นกับญี่ปุ่น{{sfn|Taylor|2009|p=136–37}}
 
==อ้างอิง==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:เหตุการณ์ในประเทศจีน]]