ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ย้อนการแก้ไขที่ 8207955 สร้างโดย 171.6.233.45 (พูดคุย)
ป้ายระบุ: ทำกลับ
บรรทัด 1:
{{Infobox royalty
| name = เอลิซาเบธที่ 2
|image = Queen Elizabeth II in March 2015.jpg
|alt = A photograph of Queen Elizabeth II; she appears happy.
เส้น 53 ⟶ 54:
| reg-type = {{Nowrap|นายกรัฐมนตรี}}
| regent = [[รายชื่อนายกรัฐมนตรีในสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2|''ดูรายชื่อ'']]
| birth_style = {{Nowrap|พระราชสมภพ}}
| birth_date = 21 เมษายน 2469<br>({{อายุปีและวัน|1926|4|21}})
| birth_place = บ้านเลขที่ 17 ถนนบรูตัน เมย์แฟร์<br /> กรุง[[กรุงลอนดอน]]<br />[[สหราชอาณาจักร]]
| spouse = [[เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ]] <br><small>(20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 – ปัจจุบัน)</small>
| spouse-type = พระราชสวามี
เส้น 69 ⟶ 71:
| mother = [[สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี]]
| signature =
}}
|name=สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักรบริเตนใหญ่และไอร์แลนด์เหนือ และ เครือจักรภพ}}
{{พระราชวงศ์อังกฤษ}}
 
'''สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ''' ({{lang-en|Elizabeth II}}; '''พระราชสมภพ''' 21 เมษายน พ.ศ. 2469) เป็นพระประมุขของ 16 ประเทศ จาก 53 รัฐสมาชิกใน[[เครือจักรภพแห่งชาติ]] พระองค์เป็นประธานเครือจักรภพและผู้ปกครองสูงสุดแห่ง[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]
 
เมื่อสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 พระองค์เป็นประธาน[[ประมุขเครือจักรภพ]]และ[[สมเด็จพระมหากษัตริย์ราชินีนาถแห่งเจ็ดรัฐอิสระในเครือจักรภพ]] เจ็ดรัฐ ได้แก่ [[สหราชอาณาจักร]] [[แคนาดา]] [[ออสเตรเลีย]] [[นิวซีแลนด์]] [[แอฟริกาใต้]] [[ปากีสถาน]] และ [[ซีลอน]] พิธีราชาภิเษกของพระองค์ในปีถัดมาเป็นพิธีราชาภิเษกครั้งแรกที่ถ่ายทอดทางโทรทัศน์ ระหว่าง พ.ศ. 2499 ถึง 2535 จำนวนราชอาณาจักรของพระองค์แปรผันเมื่อดินแดนต่าง ๆ ได้รับเอกราชและบ้างกลายเป็นสาธารณรัฐ ปัจจุบัน นอกจากสี่ประเทศแรกที่ได้กล่าวไว้แล้วนั้น สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ยังเป็นพระราชินีนาถแห่ง[[ประเทศจาเมกา|จาเมกา]] [[ประเทศบาร์เบโดส|บาร์เบโดส]] หมู่เกาะ[[ประเทศบาฮามาส|บาฮามาส]] [[ประเทศเกรเนดา|เกรนาดา]] [[ประเทศปาปัวนิวกินี|ปาปัวนิวกินี]] [[หมู่เกาะโซโลมอน]] [[ประเทศตูวาลู|ตูวาลู]] [[ประเทศเซนต์ลูเซีย|เซนต์ลูเซีย]] [[ประเทศเซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์|เซนต์วินเซนต์และเกรนาดีนส์]] [[ประเทศแอนติกาและบาร์บูดา|แอนติกาและบาร์บูดา]] [[ประเทศเบลีซ|เบลิซ]] และ[[ประเทศเซนต์คิตส์และเนวิส|เซนต์คิตส์และเนวิส]] พระองค์เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงพระชนมายุมากที่สุดของ[[บริเตน]] เมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558 พระองค์เป็นประมุขแห่งรัฐ[[บริเตน]]ที่ทรงราชย์นานที่สุด แซงหน้ารัชกาลของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] ผู้เป็นพระมารดาของพระปัยกา (ทวด) ของพระองค์ และเป็นพระราชินีนาถที่ทรงราชย์นานที่สุดในประวัติศาสตร์
พระองค์เป็นพระราชธิดาพระองค์แรกของดยุกและดัชเชสแห่งยอร์ก (ต่อมาคือ [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6]] และ[[สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชชนนี|สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธ]]) พระราชบิดาเป็นพระราชโอรสองค์พระองค์ที่สองของใน[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5]] กับ[[แมรีแห่งเทก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรมาเรียแห่งเท็ค|สมเด็จพระราชินีแมรี]] พระราชบิดาของพระองค์เสด็จขึ้นครองราชย์ เนื่องจาก[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8]] พระราชโอรสองค์โตทรงสละราชสมบัติ พระองค์จึงได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง[[รัชทายาทโดยสันนิษฐาน]]แห่งสหราชอาณาจักร
 
เมื่อครั้งทรงพระเยาว์พระองค์ประทับ ณ กรุง[[ลอนดอน]] บริเวณพิคคาเดลลี ไวท์ลอดจ์ ริชมอนด์ พาร์ค และพระตำหนักในชนบทของพระอัยยิกา เมื่อพระองค์ทรงพระชนมายุได้ 6 พรรษา พระบิดาได้พระราชทานพระตำหนักในวินด์เซอร์เกรทพาร์คให้เป็นที่ประทับนอกเมือง พระองค์ทรงได้รับการศึกษาชั้นต้น ณ ที่ประทับ และเมื่อพระบิดาได้เสด็จขึ้นครองราชย์ พระองค์จึงต้องทรงศึกษา ทางด้านประวัติศาสตร์ และกฎหมาย เพื่อเตรียมพร้อมที่จะเป็นกษัตริย์ในอนาคต นอกจากนี้ พระองค์ยังทรงศึกษาทางด้านศิลปะ ดนตรี และเรียนการขี่ม้า ซึ่งต่อมาได้กลายเป็นกีฬาที่ทรงโปรดปราน พระองค์ทรงมีพระสหายชื่อ [[โรสเลเวน่า มิโนลาช]]
เส้น 85 ⟶ 87:
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 เสด็จขึ้นครองราชย์เมื่อวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 หลังจากที่พระราชบิดาเสด็จสวรรคต ขณะที่พระองค์กำลังประทับอยู่ที่[[ประเทศเคนยา]] ซึ่งเป็นประเทศแรกตามหมายกำหนดการเยือนประเทศในเครือจักรภพของพระองค์ พระราชพิธีบรมราชาภิเษกจัดขึ้นที่มหาวิหารเวสมินสเตอร์ เมื่อวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2496 ซึ่งเป็นครั้งแรกที่พระราชพิธีได้ถ่ายทอดไปทั่วโลก
 
พระองค์ทรงมีพระราชโอรสพระองค์แรกคือ[[เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์|เจ้าชายชาลส์]] ซึ่งปัจจุบันทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น "[[เจ้าชายแห่งเวลส์]]" ประสูติเมื่อ พ.ศ. 2491 พระองค์ที่สองเป็นพระราชธิดา มีพระนามว่า[[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี|เจ้าหญิงแอนน์]] ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2493 ซึ่งปัจจุบันทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น "[[ราชกุมารี|เจ้าหญิงพระราชกุมารี]]" ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2493 พระราชโอรสพระองค์ที่สามคือ[[เจ้าชายแอนดรูว์ ดยุกแห่งยอร์ก|เจ้าชายแอนดรูว์]] ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2503 ปัจจุบันทรงดำรงพระอิสริยยศเป็น "[[ดยุกแห่งยอร์ก]]" ประสูติเมื่อปี พ.ศ. 2503 และพระราชโอรสพระองค์เล็กคือ[[เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์|เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด]] ซึ่งประสูติในปี พ.ศ. 2507 ปัจจุบันดำรงพระอิสริยยศเป็น "[[เอิร์ลแห่งเวสเซ็กส์]]" ซึ่งประสูติในปี พ.ศ. 2507
 
== พระชนม์ชีพช่วงต้น ==
เส้น 97 ⟶ 99:
 
== รัชทายาทโดยสันนิษฐาน ==
ในฐานะที่เป็นพระราชนัดดาในพระมหากษัตริย์ซึ่งเป็นบุรุษ มีพระนามเต็มว่า ''เฮอร์[[รอยัลไฮเนส|เฮอร์รอยัลไฮเนส]] เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งยอร์ก'' และอยู่ลำดับที่สามใน[[ลำดับการสืบราชบัลลังก์อังกฤษ]] ตามหลัง[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร|เจ้าชายเอ็ดเวิร์ด เจ้าชายแห่งเวลส์]] พระปิตุลาในลำดับแรก และ[[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร|เจ้าชายอัลเบิร์ต ดยุกแห่งยอร์ก]] พระราชบิดาในลำดับที่สอง แม้ว่าการประสูติของพระองค์จะอยู่ในความสนใจของสาธารณชน แต่ก็ไม่มีใครคาดหมายว่าพระองค์จะได้ขึ้นครองราชสมบัติเป็นสมเด็จพระราชินีนาถ เพราะในขณะนั้น[[เจ้าชายแห่งเวลส์]] (พระปิตุลา) ยังมีพระชนมายุไม่มาก ทั้งยังได้รับการคาดหมายว่าจะอภิเษกสมรสและมีพระโอรส-ธิดาของพระองค์เอง<ref>Bond, p. 8; Lacey, p. 76; Pimlott, p. 3</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2479 เมื่อพระอัยกาของเจ้าหญิงเอลิซาเบธ สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 5 เสด็จสวรรคต และเจ้าชายเอ็ดเวิร์ด พระปิตุลา เถลิงถวัลย์ราชสมบัติขึ้นเป็นสมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 เจ้าหญิงเอลิซาเบธจึงเลื่อนขึ้นมาลำดับที่สองในลำดับการสืบราชบัลลังก์ตามหลังพระราชบิดาในลำดับที่หนึ่ง ภายหลังในปีเดียวกันนี้เองที่พระปิตุลาทรง[[วิกฤตการณ์สละราชสมบัติของพระเจ้าเอดเวิร์ดที่ 8|สละราชสมบัติ]]เพื่อไปสมรสกับ[[วอลลิส ดัชเชสแห่งวินด์เซอร์|วอลลิส ซิมป์สัน]] แม่หม้ายชาวอเมริกันผู้หย่าร้างมาแล้วสามรอบ ก่อให้เกิดวิกฤตการณ์รัฐธรรมนูญขึ้น<ref>Lacey, pp. 97–98</ref> พระราชบิดาขึ้นเถลิงราชสมบัติเป็น[[รายพระนามพระมหากษัตริย์อังกฤษ|พระมหากษัตริย์]]และพระองค์ก็ทรงกลายมาเป็น[[รัชทายาทโดยสันนิษฐาน]]ด้วยพระอิสริยยศ ''[[รอยัลไฮเนส|เฮอร์รอยัลไฮเนส]] เจ้าหญิงเอลิซาเบธ''<ref>e.g. {{cite journal|last=Assheton|first=Ralph|date=18 December 1936|title=Succession to the Throne|journal=The Times|page=10}}</ref> ซึ่งถ้าหากพระองค์มีพระเชษฐาหรือพระอนุชาร่วมบิดา-มารดา พระองค์ก็จะทรงสูญเสียสถานะรัชทายาทโดยสันนิษฐานและอยู่ในลำดับการสืบราชบัลลังก์ที่ต่ำกว่า เพราะตามกฏสืบราชสมบัติอังกฤษจะให้สิทธิ์แก่รัชทายาทบุรุษเป็น[[รัชทายาทโดยนิตินัย]]<ref>Marr, pp. 78, 85; Pimlott, pp. 71–73</ref>
 
เจ้าหญิงเอลิซาเบธทรงได้รับการศึกษาในวิชาประวัติศาสตร์รัฐธรรมนูญจาก เฮนรี มาร์เตน รองอาจารย์ใหญ่แห่ง[[วิทยาลัยอีตัน]]<ref>Brandreth, p. 124; Crawford, p. 85; Lacey, p. 112; Marr, p. 88; Pimlott, p. 51; Shawcross, p. 25</ref> และทรงเรียนภาษาฝรั่งเศสจากพระอาจารย์ที่พูดภาษาฝรั่งเศสเป็นภาษาแม่หลายคน<ref name="Edu">{{cite web|title=Her Majesty The Queen: Education|publisher=Royal Household|url=http://www.royal.gov.uk/HMTheQueen/Education/Overview.aspx|accessdate=31 May 2010}}</ref> ต่อมากอง[[เนตรนารี]]ที่หนึ่งแห่งพระราชวังบักกิงแฮมได้รับการก่อตั้งขึ้นเป็นการเฉพาะเพื่อให้พระองค์ทรงสามารถมีพระปฏิสันถารกับเด็กหญิงวัยเดียวกัน<ref>Marr, p. 84; Pimlott, p. 47</ref> ซึ่งภายหลังทรงดำรงตำแหน่งเป็น ''แรนเจอร์ทะเล'' (sea ranger)<ref name="Edu"/>
เส้น 104 ⟶ 106:
 
=== สงครามโลกครั้งที่สอง ===
[[ไฟล์:Queen Mary with Princess Elizabeth and Margaret.jpg|right|thumb|200px|เจ้าหญิงเอลิซาเบธ (ขวา) กับ[[แมรีแห่งเทก สมเด็จพระราชินีแห่งสหราชอาณาจักรมาเรียแห่งเท็ค|สมเด็จพระราชินีแมรี]] พระอัยยิกา และเจ้าหญิงมาร์กาเรต พระขนิษฐา พ.ศ. 2482]]
ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2482 สหราชอาณาจักรเข้าร่วม[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]ที่ดำเนินไปจนถึงปี พ.ศ. 2488 ในระยะเวลาช่วงนี้เองที่กรุงลอนดอนถูกทิ้งระเบิดทางอากาศอย่างหนัก เด็กชาวลอนดอนจำนวนมากถูกอพยพไปอยู่ตามชนบท มีคำแนะนำจากนักการเมืองอาวุโสนามว่า ดักลาส ฮอกก์ วิสเคาท์ที่หนึ่งแห่งเฮลเชม (ลอร์ดเฮลเชม)<!--Warwick, Christopher (2002). ''Princess Margaret: A Life of Contrasts''. London: Carlton Publishing Group. ISBN 0-233-05106-6, p. 102--> เสนอให้เชิญพระราชธิดาทั้งสองพระองค์เสด็จลี้ภัยไปประทับอยู่ ณ แคนาดา แต่สมเด็จพระราชินีเอลิซาเบธทรงปฏิเสธข้อเสนอดังกล่าวและทรงประกาศว่า "เด็ก ๆ จะไม่เสด็จไปโดยปราศจากข้าพเจ้า ข้าพเจ้าจะไม่เสด็จไปโดยปราศจากพระเจ้าอยู่หัว และพระเจ้าอยู่หัวจะไม่เสด็จไปไหนทั้งนั้น"<ref>{{cite web|url=http://www.royal.gov.uk/HistoryoftheMonarchy/The%20House%20of%20Windsor%20from%201952/QueenElizabethTheQueenMother/ActivitiesasQueen.aspx|title=Biography of HM Queen Elizabeth the Queen Mother: Activities as Queen|publisher=Royal Household|accessdate=28 July 2009}}</ref> เจ้าหญิงเอลิซาเบธและเจ้าหญิงมาร์กาเรตประทับ ณ [[ปราสาทบาลมอรัล]]ในสกอตตแลนด์จนถึงช่วงคริสต์มาสปี พ.ศ. 2482 เมื่อเสด็จไปประทับที่[[ตำหนักซานดริงแฮม|พระตำหนักซานดริงแฮม]]ใน[[นอร์ฟอล์ก]]แทน<ref>Crawford, pp. 104–114; Pimlott, pp. 56–57</ref> และตั้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2483 เสด็จไปประทับที่[[รอยัลลอดจ์]]ในวินด์เซอร์ จนในที่สุดเสด็จไปประทับ ณ [[พระราชวังวินด์เซอร์]] ที่ซึ่งใช้เวลาส่วนมากของอีกห้าปีถัดมาประทับอยู่ ณ ที่แห่งนั้น<ref>Crawford, pp. 114–119; Pimlott, p. 57</ref> ที่วินด์เซอร์ เจ้าหญิงทั้งสองพระองค์ทรงแสดงละครใบ้ในงานคริสต์มาสเพื่อช่วยหาเงินเข้ากองทุนขนแกะของสมเด็จพระราชินี ซึ่งใช้ในการจัดหาเส้นด้ายในการทอเสื้อผ้าทหาร<ref>Crawford, pp. 137–141</ref> ในปี พ.ศ. 2483 เจ้าหญิงเอลิซาเบธซึ่งมีพระชันษาได้ 14 พรรษา ได้ทรงจัดรายการทางวิทยุของ[[บรรษัทการกระจายเสียงและแพร่ภาพแห่งบริเตน|บีบีซี]]เป็นครั้งแรกในรายการ ''Children's Hour'' (ชั่วโมงของเด็ก) และทรงกล่าว<ref name="CH">{{cite web|url=http://www.bbc.co.uk/archive/princesselizabeth/6600.shtml?all=1&id=6600|title=Children's Hour: Princess Elizabeth|publisher=BBC|date=13 October 1940|accessdate=22 July 2009}}</ref> ต่อเด็ก ๆ ที่อพยพออกจากลอนดอนว่า: ''เราพยายามทุกวิถีทางในการช่วยเหลือเหล่าลูกเรือ, ทหาร และนักบินผู้กล้าหาญของพวกเรา และเราพยายามแบกรับเอาความเศร้าโศกและอันตรายที่มีร่วมกันไว้ด้วยเช่นกัน เราทราบดีว่าท้ายที่สุดแล้วเราทุกคนจะปลอดภัย''<ref name="CH" />
 
เส้น 117 ⟶ 119:
 
=== อภิเษกสมรส ===
พระองค์ทรงพบกับ[[เจ้าชายฟิลิป ดยุกแห่งเอดินบะระ|เจ้าชายฟิลิปแห่งกรีซและเดนมาร์ก]] พระสวามีในอนาคต เมื่อปี พ.ศ. 2477 และ พ.ศ. 2480<ref>Brandreth, pp. 132–139; Lacey, pp. 124–125; Pimlott, p. 86</ref> ทั้งสองพระองค์เป็นพระญาติชั้นที่หนึ่งของกันและกันผ่านทางสายพระโลหิตของ[[พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก|สมเด็จพระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์ก]] และเป็นพระญาติชั้นที่สามผ่านทางสายพระโลหิตของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย]] จากนั้นทรงพบปะกันอีกครั้งที่วิทยาลัยราชนาวีอังกฤษในปี พ.ศ. 2482 ซึ่งขณะนั้นมีพระชนมายุ 13 พรรษาและทรงยอมรับว่ามีพระเสน่หากับเจ้าชายฟิลิป ทั้งสองพระองค์จึงทรงมีจดหมายและหัตถเลขาถึงกันและกันแต่บัดนั้นเป็นต้นมา<ref>Bond, p. 10; Brandreth, pp. 132–136, 166–169; Lacey, pp. 119, 126, 135</ref> ต่อมาพิธีหมั้นจึงประกาศออกมาอย่างเป็นทางการในวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2490<ref>Heald, p. 77</ref>
 
การหมั้นในครั้งนี้ย่อมมีเสียงวิพากษ์วิจารณ์ตามมาเนื่องจากเจ้าชายฟิลิปทรงไม่มีฐานะทางการเงินที่แน่นอน ทั้งยังประสูติจากต่างแดน (แม้จะอยู่ใต้บังคับของทางการสหราชอาณาจักรและรับใช้ในราชนาวีอังกฤษช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง) รวมถึงการที่พระเชษฐภคินีของเจ้าชายฟิลิปเสกสมรสกับขุนนางชาวเยอรมันผู้มีสายสัมพันธ์กับ[[พรรคนาซี]]<ref>{{cite web|author=Edwards, Phil|url=http://www.channel4.com/history/microsites/R/real_lives/prince_philip_t.html|title=The Real Prince Philip|publisher=Channel 4|date=31 October 2000|accessdate=23 September 2009}}</ref> แมเรียน คราวฟอร์ดเขียนไว้ในหนังสือของเธอว่า "ที่ปรึกษาของพระเจ้าจอร์จที่ 6 บางคนคิดว่าเจ้าชายทรงไม่คู่ควรกับเจ้าหญิง เป็นเจ้าชายไร้ถิ่นฐาน และหนังสือพิมพ์บางฉบับก็ยังโจมตีอย่างโจ่งแจ้งในประเด็นที่ว่าทรงมีต้นกำเนิดในต่างแดน"<ref>Crawford, p. 180</ref> ในหนังสือพระราชประวัติช่วงหลัง ๆ กล่าวว่าพระราชินีเอลิซาเบธ พระราชมารดา ทรงต่อต้านการเสกสมรสในตอนแรก ถึงขนาดที่ทรงเรียกเจ้าชายฟิลิปว่าเป็นพวกเยอรมัน<ref>{{cite web|url=http://www.telegraph.co.uk/news/uknews/1400208/Philip-the-one-constant-through-her-life.html|title=Philip, the one constant through her life|accessdate=23 September 2009|author=Davies, Caroline|date=20 April 2006|work=The Telegraph}}</ref> แต่อย่างไรก็ตามในช่วงท้ายพระชนม์ชีพ พระราชินีเอลิซาเบธได้พระราชทานสัมภาษณ์กับนักอัตชีวประวัติ ทิม ฮีลด์ ถึงเจ้าชายฟิลิปไว้ว่าทรงเป็น "สุภาพบุรุษชาวอังกฤษ"<ref>Heald, p. xviii</ref>
 
ก่อนการอภิเษกสมรสจะมีขึ้น เจ้าชายฟิลิปสละบรรดาศักดิ์ของกรีซและเดนมาร์ก ทรงเปลี่ยนจากนิกาย[[นิกายกรีกออร์โธด็อกซ์ออร์ทอดอกซ์]]มาเข้ารีต[[แองกลิคัน|นิกายแองกลิคัน]] และใช้พระยศเป็น "ร้อยเอกฟิลิป เมาท์แบตเตน" ซึ่งนามสกุลเมาท์แบตเตนเป็นของบรรพบุรุษฝ่ายอังกฤษของพระมารดา<ref>Hoey, pp. 55–56; Pimlott, pp. 101, 137</ref> ก่อนพระราชพิธีอภิเษกสมรสจะมีขึ้นไม่นาน ก็ทรงได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็น[[ดยุกแห่งเอดินบะระ]]ชั้น "รอยัลไฮเนส" (เจ้าฟ้า)<ref>{{London Gazette|issue=38128|startpage=5495|date=21 November 1947|accessdate=27 June 2010}}</ref>
 
ทั้งสองพระองค์อภิเษกกันในวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 ณ [[เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์]] และทรงได้รับของขวัญวันอภิเษกสมรสจำนวน 2500 ชิ้นจากทั่วทุกมุมโลก<ref name="news1">{{cite web|url=http://www.royal.gov.uk/LatestNewsandDiary/Factfiles/60diamondweddinganniversaryfacts.aspx|title=60 Diamond Wedding anniversary facts|publisher=Royal Household|date=18 November 2007|accessdate=20 June 2010}}</ref> และเนื่องจากอังกฤษยังคงบอบช้ำจากสงคราม เจ้าหญิงเอลิซาเบธยังคงต้องใช้บัตรปันส่วนในการจัดหาวัตถุดิบสำหรับตัดฉลองพระองค์ที่จะใช้ในวันอภิเษกซึ่งออกแบบโดยนอร์มัน ฮาร์ตเนลล์<ref>Hoey, p. 58; Pimlott, pp. 133–134</ref> นอกจากนี้สายสัมพันธ์กับชาวเยอรมันของเจ้าชายฟิลิปไม่เป็นที่ยอมรับของสาธารณชนชาวอังกฤษ ผู้ที่เพิ่งจะผ่านพ้นความทุกข์ยากของสงครามมา จึงทำให้พระเชษฐภคินีทั้งสามพระองค์ของเจ้าชายไม่ได้รับเชิญให้เสด็จมาร่วมพระราชพิธีอภิเษกสมรส<ref>Hoey, p. 59; Petropoulos, p. 363</ref> ในขณะที่[[สมเด็จพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 8 แห่งสหราชอาณาจักร|ดยุก]]และ[[วอลลิส ดัชเชสแห่งวินด์เซอร์|ดัชเชส]]แห่งวินด์เซอร์ก็ไม่ได้รับเชิญให้เสด็จมาร่วมพระราชพิธีเช่นกัน<ref>Bradford, p. 61</ref>
 
ทรงให้กำเนิดพระองค์มีประสูติการเจ้าชายชาลส์พระโอรสองค์แรก [[เจ้าชายชาลส์ เจ้าชายแห่งเวลส์|เจ้าชายชาลส์]] เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2491 เป็นเวลาหนึ่งเดือนก่อนที่พระเจ้าจอร์จที่ 6 จะทรงมีจดหมายพระราชทานพระบรมราชานุญาตให้โอรสและธิดาของเจ้าหญิงเอลิซาเบธทุกพระองค์สามารถใช้บรรดาศักดิ์เป็นเจ้าชายและเจ้าหญิงได้ ซึ่งหากมิเช่นนั้นแล้วจะไม่สามารถใช้บรรดาศักดิ์เป็นเจ้าฟ้าชาย-เจ้าฟ้าหญิงอังกฤษ เพราะในขณะนั้นเจ้าชายฟิลิปได้สละบรรดาศักดิ์ที่มีมาแต่กำเนิดไปหมดแล้วและมีบรรดาศักดิ์เป็นเพียงดยุกเท่านั้น<ref>Letters Patent, 22 October 1948; Hoey, pp. 69–70; Pimlott, pp. 155–156</ref> ต่อมาในปี พ.ศ. 2493 พระธิดาองค์แรกก็มีพระประสูติกาลโดยมีพระนามว่า [[เจ้าหญิงแอนน์ พระราชกุมารี|เจ้าหญิงแอนน์]] <ref>Pimlott, p. 163</ref>
 
ภายหลังการอภิเษกสมรส ทั้งสองพระองค์ทรงเช่าพระตำหนักวินเดิลแชมมัวร์เป็นที่ประทับซึ่งใกล้กับ[[พระราชวังวินด์เซอร์]]ไปจนถึงวันที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2492<ref name=news1/> จากนั้นทรงใช้[[พระตำหนักแคลเรนซ์]]เป็นที่ประทับหลายครั้งระหว่างช่วงปี พ.ศ. 2492 - พ.ศ. 2494 ในขณะนั้นดยุกแห่งเอดินบะระ พระสวามี ทรงประจำการอยู่ใน[[ราชนาวี|ราชนาวีอังกฤษ]] ณ [[มอลตา]]ซึ่งเป็น[[รัฐในอารักขา]]ของอังกฤษ และประทับอยู่ด้วยกันเป็นช่วง ๆ หลายเดือน ณ วิลลาในหมู่บ้านกวาร์ดามังเจียของมอลตา ซึ่งเป็นบ้านพักของลอร์ดเมาท์แบตเตน พระปิตุลาในดยุกแห่งเอดินบะระ ส่วนพระโอรส-ธิดายังคงประทับอยู่ในสหราชอาณาจักร<ref>Brandreth, pp. 226–238; Pimlott, pp. 145, 159–163, 167</ref>
เส้น 169 ⟶ 171:
[[ไฟล์:Coronation of Queen Elizabeth II Couronnement de la Reine Elizabeth II.jpg|thumb|right|200px|พระราชพิธีบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2]]
[[ไฟล์:Elizabeth and Philip 1953.jpg|thumb|left|200px|พระบรมฉายาลักษณ์วันบรมราชาภิเษกของสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ฉายคู่กับดยุกแห่งเอดินบะระ พระราชสวามี เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2496]]
ช่วงปี พ.ศ 2494 พระพลานามัยของสมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 เสื่อมถอยลงและบ่อยครั้งที่เจ้าหญิงต้องเสด็จปฏิบัติพระราชกรณียกิจแทนพระองค์ ในครั้งที่เสด็จเยือนแคนาดาและสหรัฐอเมริกาในเดือนตุลาคมปีเดียวกัน ขณะนั้นทรงพบปะกับประธานาธิบดี[[แฮร์รี เอส. ทรูแมน]] ณ กรุงวอชิงตัน ดี.ซี. ราชเลขาธิการส่วนพระองค์ มาร์ติน คาร์เตริส ก็ได้จัดทำร่างพระราชดำรัสในพระราชพิธีบรมราชาภิเษกขึ้นเผื่อกรณีที่พระเจ้าจอร์จที่ 6 เสด็จสวรรคตขณะเจ้าหญิงทรงอยู่ต่างประเทศ<ref>Brandreth, pp. 240–241; Lacey, p. 166; Pimlott, pp. 169–172</ref> ในช่วงต้นปี พ.ศ. 2495 เตรียมเสด็จเยือนออสเตรเลียและนิวซีแลนด์โดยเสด็จเยือนเคนยาก่อน ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2495 เมื่อเพิ่งเสด็จถึงบ้านพักที่ประทับซากานาลอดจ์ในเคนยา หลังจากที่คืนก่อนหน้าเสด็จไปประทับที่โรงแรมทรีท็อปส์ ข่าวการสวรรคตของพระเจ้าจอร์จที่ 6 ก็มาถึงและดยุกแห่งเอดินบะระก็ได้ทรงแจ้งข่าวนี้แก่พระราชินีพระองค์ใหม่<ref>Brandreth, pp. 245–247; Lacey, p. 166; Pimlott, pp. 173–176; Shawcross, p.16</ref> มาร์ติน คาร์เตริส ได้ทูลถามถึงพระปรมาภิไธยที่จะทรงใช้ พระองค์ทรงเลือก "เอลิซาเบธ" เช่นเดิมแน่นอน<ref>Bousfield and Toffoli, p. 72; Charteris quoted in Pimlott, p. 179 and Shawcross, p. 17</ref> พระองค์ทรงประกาศตนเป็น[[พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร|พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักรและเครือจักรภพ]]พระองค์ใหม่หลังจากที่ทรงเร่งรีบเสด็จกลับสหราชอาณาจักร<ref>Pimlott, pp. 178–179</ref> จากนั้นจึงเสด็จย้ายเข้าไปประทับ ณ พระราชวังบักกิงแฮมพร้อมกับดยุกแห่งเอดินบะระ<ref>Pimlott, pp. 186–187</ref>
 
ด้วยการเสด็จขึ้นครองราชสมบัติของเจ้าหญิงเอลิซาเบธ มีความเป็นไปได้ว่าอาจมีการเปลี่ยนชื่อราชวงศ์ไปเป็น ''ราชวงศ์เมาท์แบตเตน'' ตามนามสกุลของดยุกแห่งเอดินบะระ และให้เจ้าหญิงทรงเปลี่ยนไปใช้นามสกุลของพระราชสวามี อย่างไรก็ตามสมเด็จพระราชินีแมรี พระอัยยิกา และนายกรัฐมนตรีวินสตัน เชอร์ชิลล์ เห็นชอบที่จะให้มีการใช้ชื่อราชวงศ์เดิมต่อไป ดังนั้น[[ราชวงศ์วินด์เซอร์]]จึงสืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ดยุกแห่งเอดินบะระทรงบ่นว่า "เป็นบุรุษเพียงคนเดียวในประเทศที่ไม่สามารถให้นามสกุลแก่โอรส-ธิดาของพระองค์ได้"<ref>Bradford, p. 80; Brandreth, pp. 253–254; Lacey, pp. 172–173; Pimlott, pp. 183–185</ref> ในปี พ.ศ. 2503 หลังจากที่พระราชินีแมรีสิ้นพระชนม์ในปี พ.ศ. 2496 และวินสตัน เชอร์ชิลล์ลาออกจากการเป็นนายกรัฐมนตรีในปี พ.ศ. 2498 นามสกุล ''เมาท์แบตเตน-วินด์เซอร์'' จึงใช้แก่ดยุกฟิลิปและกับรัชทายาทบุรุษฝ่ายพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ไม่ได้ถือบรรดาศักดิ์ใด ๆ <ref>{{London Gazette|issue=41948|supp=yes|startpage=1003|date=5 February 1960|accessdate=19 June 2010}}</ref>
เส้น 175 ⟶ 177:
ท่ามกลางการตระเตรียมพระราชพิธีบรมราชาภิเษก [[เจ้าหญิงมาร์กาเรต เคาน์เตสแห่งสโนว์ดอน|เจ้าหญิงมาร์กาเรต]]กราบทูลพระเชษฐภคินีของพระองค์ว่าประสงค์ที่จะเสกสมรสกับปีเตอร์ ทาวเซินด์ พ่อหม้ายลูกติดสองคนซึ่งมีอายุมากกว่าพระองค์ 16 ปี พระราชินีนาถจึงทูลขอให้ทรงรอเป็นเวลาหนึ่งปี ตามคำกล่าวของมาร์ติน คาร์เตริสที่กล่าวว่า "พระราชินีนาถทรงมีความเห็นใจต่อเจ้าหญิงมาร์กาเรต แต่ข้าพเจ้าคิดว่าพระองค์ทรงหวังไว้ว่าเวลาจะช่วยทำให้เรื่องนี้เงียบหายไปในที่สุด"<ref>Brandreth, pp. 269–271</ref> ด้านนักการเมืองอาวุโสต่างต่อต้านแนวคิดการเสกสมรสครั้งนี้และ[[คริสตจักรแห่งอังกฤษ]]ก็ไม่อนุญาตให้มีการสมรสหลังจากที่หย่าร้างไปแล้ว ซึ่งหากเจ้าหญิงมาร์กาเรตทรงเข้าพิธีสมรสแบบทางราชการ (การสมรสโดยปราศจากพิธีกรรมทางศาสนา) ก็เป็นที่คาดหมายให้สละสิทธิ์ในการสืบราชสมบัติของพระองค์ <ref>Brandreth, pp. 269–271; Lacey, pp. 193–194; Pimlott, pp. 201, 236–238</ref> จนในท้ายที่สุดก็ทรงล้มเลิกแผนการเสกสมรสกับปีเตอร์ ทาวเซินด์<ref>Bond, p. 22; Brandreth, p. 271; Lacey, p. 194; Pimlott, p. 238; Shawcross, p. 146</ref> ในปี พ.ศ. 2503 เจ้าหญิงมาร์กาเรตเสกสมรสกับแอนโทนี อาร์มสตรอง-โจนส์ ผู้ซึ่งในปีถัดมาได้รับพระราชทานบรรดาศักดิ์เป็นเอิร์ลแห่งสโนว์ดอน ทั้งสองหย่าร้างกันในปี พ.ศ. 2521 และเจ้าหญิงมาร์กาเรตก็มิเสกสมรสกับบุคคลใดอีกเลย<ref>{{cite web|url=http://www.royal.gov.uk/HistoryoftheMonarchy/The%20House%20of%20Windsor%20from%201952/HRHPrincessMargaret/Marriageandfamily.aspx|title=Princess Margaret: Marriage and family|publisher=Royal Household|accessdate=8 September 2011}}</ref>
 
ทั้งที่สมเด็จพระราชินีแมรีเสด็จสวรรคตในวันที่ 24 มีนาคม แต่แผนการจัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกก็ยังคงดำเนินต่อไปตามที่ทรงร้องขอไว้ก่อนเสด็จสวรรคต โดยจะจัดขึ้นในวันที่ 2 มิถุนายน พ.ศ. 2496 <ref>Bradford, p. 82</ref> ณ [[เวสต์มินสเตอร์แอบบีย์]] ซึ่งเป็นพระราชพิธีบรมราชาภิเษกครั้งแรกที่มีการถ่ายทอดผ่านโทรทัศน์ โดยยกเว้นการถ่ายทอดพิธีเจิมและ[[พิธีมหาสนิทศักดิ์สิทธิ์]]<ref>{{cite web|url=http://www.royal.gov.uk/LatestNewsandDiary/Pressreleases/2003/50factsaboutTheQueensCoronation.aspx|title=50 facts about The Queen's Coronation|date=25 May 2003|publisher=Royal Household|accessdate=14 April 2011}}</ref>{{ref|television|[note 3]}} ฉลองพระองค์ในพระราชพิธีได้รับการออกแบบและตัดเย็บโดยนอร์มัน ฮาร์ตเนลล์ ซึ่งประดับด้วยลายพรรณพืชของประเทศในเครือจักรภพตามคำแนะนำของพระราชินีนาถ อันประกอบไปด้วย<ref>Lacey, p. 190; Pimlott, pp. 247–248</ref> กุหลาบทิวดอร์แห่งอังกฤษ ดอกทริสเติลแห่งสกอตแลนด์ [[กระเทียมต้น]]แห่งเวลส์ ดอกแฌมร็อคแห่งไอร์แลนด์ ดอกแวทเทิลแห่งออสเตรเลีย ใบ[[เมเปิล]]แห่งแคนาดา ใบเฟิร์นสีเงินแห่งนิวซีแลนด์ ดอกโพรทีแห่งแอฟริกาใต้ ดอก[[บัวหลวง]]แห่งอินเดียและศรีลังกา รวมไปถึง[[ข้าวสาลี]] [[ฝ้าย]] และปอกระเจาแห่งปากีสถาน<ref>{{cite web|author=Cotton, Belinda; Ramsey, Ron|url=http://www.nga.gov.au/ByAppointment/|title=By appointment: Norman Hartnell's sample for the Coronation dress of Queen Elizabeth II|publisher=National Gallery of Australia|accessdate=4 December 2009}}</ref>
 
=== พระราชินีนาถกับเครือจักรภพ===
เส้น 283 ⟶ 285:
 
สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 ทรงดำรงพระราชอิสริยยศและตำแหน่งทางการทหารในประเทศเครือจักรภพมากมาย เป็นผู้พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ในประเทศของพระองค์ ทรงได้รับการถวายพระเกียรติและรางวัลมากมายจากทั่วโลก และมีพระราชอิสริยยศเป็นการเฉพาะในแต่ละประเทศ เช่น สมเด็จพระราชินีนาถแห่งจาเมกา, สมเด็จพระราชินีนาถแห่งออสเตรเลีย ฯลฯ เป็นต้น ทรงดำรงตำแหน่งลอร์ดแห่งแมนใน[[เกาะแมน]] และ[[ดยุกแห่งนอร์ม็องดี]]ใน[[หมู่เกาะแชนเนล]] ซึ่งทั้งสองเป็นดินแดนปกครองตนเองของสหราชอาณาจักร นอกจากนี้ยังทรงดำรงตำแหน่งอื่น ๆ เช่น อัครศาสนูปถัมภก และ[[ดยุกแห่งแลงแคสเตอร์]] เมื่อพระราชินีนาถมีพระราชปฏิสันธานกับเรา ควรเริ่มเอ่ยถึงพระองค์ด้วยคำว่า "ฝ่าพระบาท" (Your Majesty) หลังจากนั้นจึงค่อยใช้คำว่า "ท่าน" (Ma'am) ในการกล่าวถึงพระองค์<ref>{{cite web|url=http://www.royal.gov.uk/ThecurrentRoyalFamily/GreetingamemberofTheRoyalFamily/Overview.aspx|title=Greeting a member of The Royal Family|publisher=Royal Household|accessdate=21 August 2009}}</ref> ลำดับบรรณดาศักดิ์ที่ทรงได้รับตลอดช่วงพระชนม์ชีพมีดังต่อไปนี้ :
* [[21 เมษายน]] [[พ.ศ. 2469]] - [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2479]]: เฮอร์[[รอยัลไฮเนส]] เจ้าหญิงเอลิซาเบธแห่งยอร์ก (Her Royal Highness Princess Elizabeth of York)
* [[11 ธันวาคม]] [[พ.ศ. 2479]] - [[20 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2490]]: เฮอร์รอยัลไฮเนส เจ้าหญิงเอลิซาเบธ (Her Royal Highness The Princess Elizabeth)
* [[20 พฤศจิกายน]] [[พ.ศ. 2490]] - [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2495]]: เฮอร์รอยัลไฮเนส เจ้าหญิงเอลิซาเบธ ดัชเชสแห่งเอดินบะระ (Her Royal Highness The Princess Elizabeth, Duchess of Edinburgh)
* [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2495]]: สมเด็จพระราชินีนาถ (Her Majesty The Queen)
 
=== ตราอาร์ม ===
เส้น 396 ⟶ 398:
 
=== หนังสือและบทความ ===
 
* [http://thesis.swu.ac.th/swuarticle/His/Hisv2543p116.pdf ชาคริต ชุ่มวัฒนะ. (2543). เอลิซาเบทที่ 2: กษัตริย์ยามอัสดงของเครือจักรภพ. ''วารสารประวัติศาสตร์''. น. 116-126.]
* เฮิร์ด, ดักลาส. (2559). ''เอลิซาเบธที่ 2 แนวแน่ในปณิธาน''. แปลโดย ธงทอง จันทรางศุ และนรชิต สิงหเสนี. กรุงเทพฯ: openbooks.
 
=== ออนไลน์ ===
 
*[http://www.royal.gov.uk/HMTheQueen/HMTheQueen.aspx เว็บไซต์ทางการสหราชอาณาจักร]
*[http://canadiancrown.gc.ca/eng/1331810132814 เว็บไซต์ทางการแคนาดา]
บรรทัด 413:
| รูปภาพ = Royal Coat of Arms of the United Kingdom.svg
| ก่อนหน้า = [[สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6 แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระเจ้าจอร์จที่ 6]]
| ตำแหน่ง = [[ราชาธิปไตยแห่งสหราชอาณาจักร|พระมหากษัตริย์แห่งสหราชอาณาจักร]]<br>และ[[ราชอาณาจักรเครือจักรภพ]]
| ราชวงศ์ = ราชวงศ์วินด์เซอร์
| ปี = [[6 กุมภาพันธ์]] [[พ.ศ. 2495]] — ปัจจุบัน
บรรทัด 438:
 
{{เรียงลำดับ|เอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร}}
{{birthlifetime|1926}}{{มีชีวิต|}}
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร| ]]
[[หมวดหมู่:สมเด็จพระราชินีนาถ]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์สหราชอาณาจักร]]
[[หมวดหมู่:พระมหากษัตริย์ที่ทรงครองราชย์ในปัจจุบัน]]
[[หมวดหมู่:สมาชิกเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ม.จ.ก. (ฝ่ายใน)]]
[[หมวดหมู่:ผู้ได้รับเครื่องอิสริยาภรณ์เลฌียงดอเนอร์]]
[[หมวดหมู่:ผู้นำประเทศในปัจจุบัน]]
{{บทความคัดสรร}}