ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสตร์แห่งการเล่าเรื่อง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Alifshinobi (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
'''ศาสตร์แห่งการเล่าเรื่อง''' ({{lang-en|Narratology}})<ref>ฉลองรัฐ เฌอมาลย์ชลมารค. 2548. เรื่องเล่า (Narrative) และศาสตร์แห่งการเล่าเรื่อง (Narratology).</ref> หรือ '''ศาสตร์เรื่องเล่า''' <ref>Phasomsup, P. (2018). ความ ย้อน แย้ง ใน อุดมการณ์ และ การ ลิดรอน ความ เป็น มนุษย์ ใน เรื่อง เล่า บาดแผล เรื่อง Escape from Camp 14. Humanities Journal, 25(2), 143-179.</ref> คือวิชาว่าด้วยการศึกษา[[เรื่องเล่า]] (Narrative) โดยเน้นศึกษาโครงสร้างและหน้าที่ของเรื่องเล่า รวมถึงแก่นเรื่อง ขนบของการเล่าเรื่อง และสัญลักษณ์ต่าง ๆ ในเรื่องเล่า ศาสตร์เรื่องเล่าอาจสืบเชื้อสายเชิงทฤษฎีมาจาก[[อริสโตเติล]] (''[[Poetics|the Poetics]]'') แต่ศาสตร์เรื่องเล่าปัจจุบันถือว่าริเริ่มโดย[[รูปแบบนิยม|นักรูปแบบนิยม]]รัสเซีย โดยเฉพาะ[[วลาดีมีร์ ปรอปป์]] (''Morphology of the Folktale'', 1928) และทฤษฎีการใช้หลากเสียง (heteroglossia) เสียงอันหลากหลาย (dialogism)<ref>วัชรี เก ว ล กุล. การ สื่อสาร “วิกฤต อัต ลักษณ์” ใน นวนิยาย ของ ฮา รู กิ มู ราคา มิ และ เรื่องสั้น แนวหลัง สมัยใหม่ ของ ไทย (Doctoral dissertation, จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย).</ref> และพื้นที่และเวลาของการใช้ศัพท์ (chronotope) ซึ่งถูกนำเสนอโดยของ[[มิคาอิล บัคติน]] ซึ่งถูกนำเสนอใน ''The Dialogic Imagination'' (1975)
 
==อ้างอิง==