ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จังหวัดอุบลราชธานี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
อุบลราช (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติศาสตร์: เว้นวรรคตอนให้ถูกต้อง สวยงาม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Mr.BuriramCN (คุย | ส่วนร่วม)
นโยบาย Horus ไม่เขียนสัญลักษณ์และคนดังประจำจังหวัด
บรรทัด 39:
จังหวัดอุบลราชธานีเป็นเมืองใหญ่ริมฝั่งแม่น้ำมูลที่มีประวัติศาสตร์ที่ยาวนานมากว่า 200 ปี และแหล่งโบราณคดีบ้านก้านเหลืองยุคก่อนประวัติศาสตร์ ตั้งอยู่ในบริเวณวัดบ้านก้านเหลือง ตำบลขามใหญ่ ในตัวอำเภอเมือง กรมศิลปากรได้ทำการขุดค้นเมื่อปี 2539 พบโบราณวัตถุต่าง ๆ มากมาย เช่น ลูกปัด เครื่องปั้นดินเผา การทำโลหะผสม กระพรวนสำริด ขวานเหล็ก และแกลบข้าวจำนวนมาก แต่ไม่พบโครงกระดูกมนุษย์ สันนิษฐานว่าชุมชนโบราณแห่งนี้เป็นแหล่งโบราณคดีที่มีอายุระหว่าง 2,500-2,800 ปีมาแล้ว อยู่ในยุคโลหะตอนปลาย
เป็นจังหวัดที่มีพื้นที่กว้างใหญ่ ภายหลังถูกแบ่งออกเป็นจังหวัดใหม่คือ[[จังหวัดยโสธร]]ในปี [[พ.ศ. 2515]] และ[[จังหวัดอำนาจเจริญ]]ในปี [[พ.ศ. 2536]] ซึ่งถ้ารวมพื้นที่อีกสองจังหวัดที่แยกออกไป จังหวัดอุบลราชธานีจะมีพื้นที่เป็นอันดับ 1 ของประเทศไทย
 
== สัญลักษณ์ประจำจังหวัด ==
* '''[[คำขวัญประจำจังหวัด]] :''' อุบลเมืองดอกบัวงาม แม่น้ำสองสี มีปลาแซบหลาย หาดทรายแก่งหิน ถิ่นไทยนักปราชญ์ ทวยราษฎร์ใฝ่ธรรม งามล้ำเทียนพรรษา ผาแต้มก่อนประวัติศาสตร์ ฉลาดภูมิปัญญาท้องถิ่น ดินแดนอนุสาวรีย์คนดีศรีอุบล
* '''[[ตราประจำจังหวัดของไทย|ตราประจำจังหวัด]] :''' รูป[[ดอกบัว]]บานชูช่อพ้นน้ำ
* '''[[ต้นไม้ประจำจังหวัด]] :''' ต้น[[ยางนา]] ({{lang|la|''Dipterocarpus alatus''}})
* '''[[ดอกไม้ประจำจังหวัด]] :''' ดอกบัว
* '''[[สัตว์น้ำประจำจังหวัด]] :''' [[ปลาเทโพ]]หรือปลาปึ่ง ({{lang|la|''Pangasius larnaudii''}})
 
== อาณาเขต ==
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[จังหวัดอำนาจเจริญ]]และ[[ประเทศลาว]]
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[แขวงจำปาศักดิ์]] (ประเทศลาว) โดยพรมแดนบางช่วงใช้[[แม่น้ำโขง]]เป็นตัวกำหนด
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[จังหวัดพระวิหาร]] ([[ประเทศกัมพูชา]])
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[จังหวัดศรีสะเกษ]]และ[[จังหวัดยโสธร]]
 
แนวพรมแดนติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชา รวมความยาวประมาณ 428 กิโลเมตร
* ติดต่อกับประเทศลาว 361 กิโลเมตร (จากอำเภอเขมราฐถึงอำเภอน้ำยืน ติดต่อกับแขวงสุวรรณเขต แขวงสาละวัน และแขวงจำปาศักดิ์)
* ติดต่อกับประเทศกัมพูชา 67 กิโลเมตร (อำเภอน้ำยืน ติดต่อกับจังหวัดพระวิหาร ประเทศกัมพูชา)
 
== ประวัติศาสตร์ ==
เส้น 106 ⟶ 89:
พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ได้สร้างวัดหลวงเป็นวัดคู่เมืองขึ้นที่ริมฝั่งแม่น้ำมูล ซึ่งถือเป็นวัดแรกของเจ้าเมืองอุบลราชธานีคนนี้ พ.ศ. 2338 พระประทุมวรราชสุริยวงศ์ได้ถึงแก่พิราลัยเมื่อวันขึ้น 14 ค่ำ เดือน 12 ปีเถาะ จุลศักราช1157 รวมอายุได้ 86 ปี ดำรงตำแหน่งเจ้าเมืองอุบลราชธานีศรีวะนาไล ประเทษราช อยู่ 3 ปี
 
== ภูมิศาสตร์ ==
== ลักษณะภูมิประเทศ ==
=== อาณาเขต ===
* '''ทิศเหนือ''' ติดต่อกับ[[จังหวัดอำนาจเจริญ]]และ[[ประเทศลาว]]
* '''ทิศตะวันออก''' ติดต่อกับ[[แขวงจำปาศักดิ์]] (ประเทศลาว) โดยพรมแดนบางช่วงใช้[[แม่น้ำโขง]]เป็นตัวกำหนด
* '''ทิศใต้''' ติดต่อกับ[[จังหวัดพระวิหาร]] ([[ประเทศกัมพูชา]])
* '''ทิศตะวันตก''' ติดต่อกับ[[จังหวัดศรีสะเกษ]]และ[[จังหวัดยโสธร]]
 
แนวพรมแดนติดต่อกับประเทศลาวและกัมพูชา รวมความยาวประมาณ 428 กิโลเมตร
* ติดต่อกับประเทศลาว 361 กิโลเมตร (จากอำเภอเขมราฐถึงอำเภอน้ำยืน ติดต่อกับแขวงสุวรรณเขต แขวงสาละวัน และแขวงจำปาศักดิ์)
* ติดต่อกับประเทศกัมพูชา 67 กิโลเมตร (อำเภอน้ำยืน ติดต่อกับจังหวัดพระวิหาร ประเทศกัมพูชา)
 
=== ภูมิประเทศ ===
จังหวัดอุบลราชธานีตั้งอยู่ในบริเวณที่เรียกว่า แอ่งโคราช (Khorat Basin) โดยสูงจากระดับน้ำทะเลเฉลี่ยประมาณ 120-140 เมตร (395-460 ฟุต) ลักษณะโดยทั่วไปเป็นที่สูงต่ำ เป็นที่ราบสูงลาดเอียงไปทางตะวันออกมี[[แม่น้ำโขง]] เป็นแนวเขตกั้นจังหวัดอุบลราชธานีกับ[[ประเทศลาว]] มี[[แม่น้ำชี]]ไหลมาบรรจบกับ[[แม่น้ำมูล]]ซึ่งไหลผ่านกลางจังหวัดจากทิศตะวันตกมายังทิศตะวันออกแล้วไหลลงสู่แม่น้ำโขงที่[[อำเภอโขงเจียม]] และมีลำน้ำใหญ่ๆ อีกหลายสาย ได้แก่ [[ลำเซบาย]] [[ลำเซบก]] [[ลำโดมใหญ่]] [[ลำโดมน้อย]] และมีภูเขาสลับซับซ้อนหลายแห่งทางบริเวณชายแดนตอนใต้ ที่สำคัญคือ [[ทิวเขาบรรทัด]]และ[[ทิวเขาพนมดงรัก]] ซึ่งกั้นอาณาเขตระหว่างจังหวัดอุบลราชธานีกับประเทศลาวและ[[ประเทศกัมพูชา]]
 
เส้น 118 ⟶ 112:
* '''บริเวณที่ลาดเชิงซ้อน (slope complex) ''' ลักษณะเป็นภูเขาหรือทิวเขามีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ จะพบบริเวณ[[ทิวเขาพนมดงรัก]]ในอำเภอน้ำยืน [[อำเภอนาจะหลวย]] และ[[อำเภอบุณฑริก]] อีกแห่งหนึ่งคือ ทิวเขาภูเขาซึ่งจะพบมากใน[[อำเภอโขงเจียม]]และ[[อำเภอศรีเมืองใหม่]]
 
=== ลักษณะภูมิอากาศและอุตุนิยมวิทยา ===
* ฤดูฝน จะเริ่มตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเรื่อยไปจนถึงปลายเดือนตุลาคม และมักปรากฏเสมอว่าฝนทิ้งช่วงในเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม แต่ระยะเวลาการทิ้งช่วงมักจะไม่เหมือนกันในแต่ละปี
* ฤดูหนาว เนื่องจากเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกสุดของประเทศ ทำให้ได้รับอิทธิพลลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือก่อนภูมิภาคอื่น อุณหภูมิจะเริ่มลดต่ำลงตั้งแต่เดือนตุลาคมและจะสิ้นสุดปลายเดือนมกราคม
* ฤดูร้อน ถึงแม้ว่าเคยปรากฏบ่อยครั้งว่าอากาศยังคงหนาวเย็นยืดเยื้อมาจนถึงปลายเดือนกุมภาพันธ์ โดยส่วนใหญ่แล้วอากาศจะ เริ่มอบอ้าว ในเดือนกุมภาพันธ์ไปจนถึงประมาณต้นเดือนพฤษภาคมซึ่งอาจจะมีฝน เริ่มตกอยู่บ้างในปลายเดือนเมษายน
 
=== ทรัพยากรโดยสังเขป ===
ทรัพยากร ดิน จ.อุบลราชธานี เป็นจังหวัดที่มีเนื้อที่กว้างใหญ่และมีประชากรมาก ดินเป็นทรัพยากรคิด เป็นร้อยละ 86.6 ของพื้นที่ทั้งจังหวัด หรือประมาณ 10,299,063 ไร่ ด้านป่าไม้มีทั้งป่าเต็งรัง หรือป่าแดงมีอยู่ทั่วไป มีเขตป่าดงดิบในเขตอำเภอน้ำยืน และป่าผสม ส่วนป่าเบญจพรรณมีอยู่ในอำเภอเขมราฐ อำเภอบุณฑริก และอำเภอพิบูลมังสาหาร ไม้ส่วนใหญ่เป็นไม้กระยาเลย ได้แก่ ไม้ยาง ไม้ตระแบก ไม้แดง ไม้ประดู่ ไม้เคี่ยม ไม้ชุมแพรก ไม้กันเกรา สภาพพื้นที่ป่าไม้จากการสำรวจเมื่อปี 2538 มีเนื้อป่าประมาณ 2,495 ตร.กม. หรือประมาณ 1.56 ล้านไร่ คิดเป็นร้อยละ 15.49 ของเนื้อที่ทั้งหมดของจังหวัดอุบลราชธานี สำหรับพื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดอุบลราชธานี แบ่งได้ดังนี้ ป่าถาวร ตามมติ ครม.จำนวน 1 ป่า เนื้อที่ 77,312.50 ไร่ ป่าสงวนแห่งชาติ จำนวน 46 ป่า เนื้อที่ 3,396,009.163 ไร่ พื้นที่ป่า สปก. จำนวน 40 ป่า เนื้อที่ 1,665,543.30 ไร่ ป่าอนุรักษ์ ตาม มติ ครม. จำนวน 10 ป่า เนื้อที่ 1,439,998.402 ไร่ ป่าอนุรักษ์ตามกฎหมาย จำนวน 5 ป่า เนื้อที่ 880,220.00 ไร่ สวนป่า จำนวน 15 ป่า เนื้อที่ 20,985.73 ไร่ พื้นที่ป่าธรรมชาติ (รวม จ.อำนาจเจริญ) เนื้อที่ 24,292,656 ไร่
 
แร่ธาตุ จากการสำรวจของกรมทรัพยากรธรณี พบว่า จังหวัดอุบลราชธานีมีแร่อโลหะเพียงชนิดเดียว คือ เกลือหิน ซึ่งเจาะพบแล้ว 2 แห่งคือ อำเภอเมืองอุบลราชธานีและอำเภอตระการพืชผล นอกจากนี้ มีทรัพยากรแร่ที่อยู่ในรูปของหินชนิดต่าง ๆ อีกมากมาย สำหรับแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญคือ แม่น้ำโขง แม่น้ำมูล แม่น้ำชี ลำเซบก ลำเซบาย ลำโดมใหญ่ ลำโดมน้อย
 
== การแบ่งเขตการเมืองการปกครอง ==
=== การปกครองส่วนภูมิภาค ===
จังหวัดอุบลราชธานีแบ่งเขตการปกครองออกเป็น 25 [[อำเภอ]] 219 [[ตำบล]] 2469 [[หมู่บ้าน]] ได้แก่
[[ไฟล์:Amphoe Ubon Ratchathani.svg|right|250px|thumb|upright=1.4|แผนที่อำเภอในจังหวัดอุบลราชธานี]]
เส้น 295 ⟶ 289:
|}
 
=== รายนามเจ้าเมืองและผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ===
== การคมนาคม ==
[[ไฟล์:บขส อุบลราชธานี.jpg|thumb|400px|right|สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุบลราชธานี]]
=== รถยนต์ ===
ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ไปสระบุรี เลี้ยวเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 24 (สายโชคชัย-เดชอุดม) ไปจนถึงอุบลราชธานี หรือใช้ เส้นทางกรุงเทพฯ-[[นครราชสีมา]] แล้วต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และเข้าสู่จังหวัดอุบลราชธานี
 
=== รถไฟ ===
มีรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ว รถท้องถิ่น และรถเร็วเสริมเฉพาะช่วงเทศกาลปีใหม่และเทศกาลสงกรานต์ จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ สุดปลายทางที่อำเภอวารินชำราบ โดยจังหวัดอุบลราชธานี มีสถานีย่อย 2 แห่ง คือ สถานีบุ่งหวาย และสถานีห้วยขะยุง
 
เวลาเดินรถไฟ ประกอบด้วย
* เที่ยวขึ้นจากสถานีต้นทางกรุงเทพฯ เริ่มต้นที่เวลา 05.45 ถึง 22.40 น.
* เที่ยวล่องจากสถานีรถไฟอุบลราชธานี เริ่มต้นที่เวลา 05.40 ถึง 20.30 น.
 
=== รถโดยสารประจำทาง ===
การเดินทางจากกรุงเทพมหานครมายังจังหวัดอุบลราชธานีโดยรถโดยสารประจำทางทั้งชนิดรถธรรมดาและรถปรับอากาศนั้น จะออกเดินทางจากสถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ (หมอชิตใหม่) มายังสถานีปลายทางคือ สถานีขนส่งผู้ดดยสารจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ บริษัท ขนส่ง จำกัด ยังมีบริการรถโดยสารระหว่างอุบลราชธานีและ[[ปากเซ|เมืองปากเซ]]ของ[[ประเทศลาว]]ทุกวัน<ref name=inter>{{cite web|url=http://guideubon.com/news/view.php?t=42&s_id=3&d_id=2|title=-ตารางเส้นทางเดินรถโดยสาร ระหว่างจังหวัด-|author=Guide Ubon|date=2558|accessdate=January 22, 2016}}</ref>
 
ส่วนรถประจำทางระหว่างจังหวัดที่เดินรถระหว่างอุบลราชธานีไปถึงจังหวัดปลายทางต่างๆ ได้แก่
{{บน}}
* [[ศรีสะเกษ]]
* [[สุรินทร์]]
* [[บุรีรัมย์]]
* [[นครราชสีมา]]
* [[ชลบุรี]]
 
* [[ระยอง]]
* [[เชียงใหม่]]
* [[เชียงราย]]
* [[พะเยา]]
* [[ลำพูน]]
 
* [[ลำปาง]]
* [[พิษณุโลก]]
* [[อุดรธานี]]
* [[ขอนแก่น]]
* [[หนองคาย]]
{{กลาง}}
* [[มหาสารคาม]]
* [[ร้อยเอ็ด]]
* [[ยโสธร]]
* [[อำนาจเจริญ]]
* [[มุกดาหาร]]
 
* [[นครพนม]]
* [[ชัยภูมิ]]
* [[สกลนคร]]
* [[หัวหิน]]
* [[ภูเก็ต]]
 
* [[หาดใหญ่]]
{{ล่าง}}
 
นอกจากนี้แล้ว กรมการขนส่งทางบกได้ออกประกาศถึงการเปิดเดินรถสายอุบลราชธานี -[[เกาะสมุย]] เพื่อเชื่อมเมืองท่องเที่ยวสำคัญของภูมิภาคในอนาคต และอีกในอนาคตข้างหน้า กรมการขนส่งทางบกยังมีแผนการที่จะเปิดเดินรถสายสายเหนืออีก 1 เส้นทาง คือ เส้นทางอุบลราชธานี - [[เชียงราย]] - [[แม่สาย]] โดยอาจดำเนินการบริษัทนครชัยแอร์ เพื่อเชื่อมเมืองท่องเที่ยวสำคัญของภูมิภาคในอนาคต ส่วนแผนการเปิดเส้นทางเดินรถระหว่างประเทศของกรมการขนส่งทางบกนั้น ในปัจจุบันมีอยู่ 3 เส้นทาง คือ สายอุบลราชธานี-[[จำปาศักดิ์]], อุบลราชธานี-[[คอนพะเพ็ง]] และ อุบลราชธานี-[[เสียมราฐ]]
 
=== อากาศยาน===
จังหวัดอุบลราชธานี มีท่าอากาศยานนานาชาติจำนวน 1 แห่ง โดยมีเที่ยวบินจากจังหวัดอุบลราชธานีสู่ เส้นทางต่างๆ ดังนี้ <ref>{{cite web|url=http://www.sawadee.co.th/thailand/transfer/air-ubon.html|title=ตารางเที่ยวบินของอุบลราชธานี|author=บริษัท เว็บสวัสดี จำกัด (มหาชน)|accessdate=January 22, 2016|date=2558}}</ref>
* [http://www.thaismileair.com ไทยสมายล์] - กรุงเทพมหานคร (สุวรรณภูมิ)
* [[ไทยแอร์เอเชีย]] - กรุงเทพมหานคร (ดอนเมือง) / เชียงใหม่ / พัทยา (อู่ตะเภา)
* [[นกแอร์]] - กรุงเทพมหานคร (ดอนเมือง)
* [[ไทยไลอ้อนแอร์]] - กรุงเทพมหานคร (ดอนเมือง)
 
=== รถเช่า ===
การบริการรถเช่าในจังหวัดอุบลราชธานีนั้นดำเนินการโดยภาคเอกชน นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถเช่าต่างๆได้ที่ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี หรือติดต่อโดยตรงกับผู้ให้บริการรถเช้าในพื้นที่ ตัวอย่างผู้ให้บริการรถเช้าในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี เช่น
* Ecocar สาขาอุบลราชธานี มีจุดรับและคืนรถเช่า ณ สนามบินนานาชาติอุบลราชธานี
* ยุวดี รถเช่า
* Jay Jay Carrent Ubon
 
=== รถเมล์หรือรถสองแถวประจำทาง ===
[[ไฟล์:เส้นทางเดินรถเมล์เล็ก อุบล.jpg|thumb|350px|right|แผนที่แสดงเส้นทางเดินรถเมล์ขนาดเล็กภายในตัวเมืองอุบลราชธานี-วารินชำราบ]]
ในปัจจุบัน การเดินทางภายในเขตตัวเมืองอุบลราชธานี-วารินชำราบ และบริเวณโดยรอบนั้นมีการบริการด้วยรถสองแถวประจำทางขนาดเล็กที่ให้การบริการโดยเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 11 เส้นทาง ดังรายละเอียดต่อไปนี้<ref>{{cite web|url=http://www.guideubon.com/2.0/191/840/|title=ข้อมูลการเดินรถสองแถวจังหวัดอุบลราชธานี|author=GuideUbon|accessdate=January 22, 2016}}</ref>
 
* {{legend2|#333399;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 1 บ้านธาตุ - สามแยกเข้าหมู่บ้านหนองแก
* {{legend2|#006600;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 2 สถานีรถไฟอุบลราชธานี - โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร
* {{legend2|#FF00CC;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 3 บ้านก่อ - โรงเรียนเทคโนโลยีและเกษตรกรรมอุบลราชธานี
* {{legend2|#FFFFFF;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 4 เรือนจำกลางอุบลราชธานี - โรงเรียนบ้านกุดลาด '''''(ปัจจุบันยกเลิกเส้นทาง)'''''
* {{legend2|#CCCCCC;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที 6 ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ - การประปา
* {{legend2|#990099;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 7 ศาลปู่เจ้าคำจันทร์ - วัดพุทธนิคมกิติยาราม
* {{legend2|#00FF00;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 8 บ้านปลาดุก - สถานีโทรคมนาคมอุบลราชธานี
* {{legend2|#0099FF;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 9 ตลาดสดวารินชำราบ - หาดคูเดื่อ
* {{legend2|#FFCC00;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 10 ศาลาบ้านดู่ - ศูนย์อพยพ
* {{legend2|#CCCC00;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 11 บ้านบุ่งกาแซว - บ้านด้ามพร้า
* {{legend2|#AA0000;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 12 สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - บ้านดง
* {{legend2|#FFFFFF;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 13 วงเวียนบ้านท่าข้องเหล็ก - โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ - สถานีขนส่งผู้โดยสารอุบลราชธานี '''''(ปัจจุบันยกเลิกเส้นทาง)'''''
* {{legend2|#FF0000;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 14 (ขึ้นต้นด้วยอักษร ม.) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - สถานีขนส่งผู้โดยสารอุบลราชธานี
 
=== รถแท็กซี่ ===
สำหรับการเดินทางในเขตเมืองอุบลราชธานีและวารินชำราบนั้น ในปัจจุบันมีแท็กซี่มีเตอร์ให้บริการประมาณ 500 คัน ภาคเอกชนที่เปิดให้บริการเดินรถแท็กซี่ในจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่<ref>{{cite web|url=http://www.la.ubu.ac.th/mekongconference2/documents/hotel.pdf|author=มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี|title=การเดินทางไปจังหวัดอุบลราชธานี|accessdate=January 22, 2016}}</ref>
* '''บริษัท แท็กซี่อุบล จำกัด''' ให้บริการในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ มุกดาหาร และยโสธร
* '''หจก. อุบลแท๊กซี่มิเตอร์พัฒนา''' ให้บริการในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
* '''บริษัท สหการอุบล 2011 จำกัด''' ให้บริการในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
 
== รายนามเจ้าเมืองและผู้ว่าราชการจังหวัดอุบลราชธานี ==
{| class="toccolours" width=100%
|-
เส้น 576 ⟶ 481:
| valign = "top" style="background: #FFE1FF" | พ.ศ. 2560-ปัจจุบัน
|}
 
== การขนส่ง ==
[[ไฟล์:บขส อุบลราชธานี.jpg|thumb|400px|right|สถานีขนส่งผู้โดยสารจังหวัดอุบลราชธานี]]
=== รถยนต์ ===
ใช้ทางหลวงหมายเลข 1 (ถนนพหลโยธิน) ไปสระบุรี เลี้ยวเข้าทางหลวงหมายเลข 2 (ถนนมิตรภาพ) ต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 24 (สายโชคชัย-เดชอุดม) ไปจนถึงอุบลราชธานี หรือใช้ เส้นทางกรุงเทพฯ-[[นครราชสีมา]] แล้วต่อด้วยทางหลวงหมายเลข 226 ผ่านบุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ และเข้าสู่จังหวัดอุบลราชธานี
 
=== รถไฟ ===
มีรถด่วนพิเศษ รถด่วน รถเร็ว รถท้องถิ่น และรถเร็วเสริมเฉพาะช่วงเทศกาลปีใหม่และเทศกาลสงกรานต์ จากกรุงเทพฯ ผ่านจังหวัดนครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ และศรีสะเกษ สุดปลายทางที่อำเภอวารินชำราบ โดยจังหวัดอุบลราชธานี มีสถานีย่อย 2 แห่ง คือ สถานีบุ่งหวาย และสถานีห้วยขะยุง
 
เวลาเดินรถไฟ ประกอบด้วย
* เที่ยวขึ้นจากสถานีต้นทางกรุงเทพฯ เริ่มต้นที่เวลา 05.45 ถึง 22.40 น.
* เที่ยวล่องจากสถานีรถไฟอุบลราชธานี เริ่มต้นที่เวลา 05.40 ถึง 20.30 น.
 
=== รถโดยสารประจำทาง ===
การเดินทางจากกรุงเทพมหานครมายังจังหวัดอุบลราชธานีโดยรถโดยสารประจำทางทั้งชนิดรถธรรมดาและรถปรับอากาศนั้น จะออกเดินทางจากสถานีขนส่งสายตะวันออกเฉียงเหนือ (หมอชิตใหม่) มายังสถานีปลายทางคือ สถานีขนส่งผู้ดดยสารจังหวัดอุบลราชธานี นอกจากนี้ บริษัท ขนส่ง จำกัด ยังมีบริการรถโดยสารระหว่างอุบลราชธานีและ[[ปากเซ|เมืองปากเซ]]ของ[[ประเทศลาว]]ทุกวัน<ref name=inter>{{cite web|url=http://guideubon.com/news/view.php?t=42&s_id=3&d_id=2|title=-ตารางเส้นทางเดินรถโดยสาร ระหว่างจังหวัด-|author=Guide Ubon|date=2558|accessdate=January 22, 2016}}</ref>
 
ส่วนรถประจำทางระหว่างจังหวัดที่เดินรถระหว่างอุบลราชธานีไปถึงจังหวัดปลายทางต่างๆ ได้แก่
{{บน}}
* [[ศรีสะเกษ]]
* [[สุรินทร์]]
* [[บุรีรัมย์]]
* [[นครราชสีมา]]
* [[ชลบุรี]]
 
* [[ระยอง]]
* [[เชียงใหม่]]
* [[เชียงราย]]
* [[พะเยา]]
* [[ลำพูน]]
 
* [[ลำปาง]]
* [[พิษณุโลก]]
* [[อุดรธานี]]
* [[ขอนแก่น]]
* [[หนองคาย]]
{{กลาง}}
* [[มหาสารคาม]]
* [[ร้อยเอ็ด]]
* [[ยโสธร]]
* [[อำนาจเจริญ]]
* [[มุกดาหาร]]
 
* [[นครพนม]]
* [[ชัยภูมิ]]
* [[สกลนคร]]
* [[หัวหิน]]
* [[ภูเก็ต]]
 
* [[หาดใหญ่]]
{{ล่าง}}
 
นอกจากนี้แล้ว กรมการขนส่งทางบกได้ออกประกาศถึงการเปิดเดินรถสายอุบลราชธานี -[[เกาะสมุย]] เพื่อเชื่อมเมืองท่องเที่ยวสำคัญของภูมิภาคในอนาคต และอีกในอนาคตข้างหน้า กรมการขนส่งทางบกยังมีแผนการที่จะเปิดเดินรถสายสายเหนืออีก 1 เส้นทาง คือ เส้นทางอุบลราชธานี - [[เชียงราย]] - [[แม่สาย]] โดยอาจดำเนินการบริษัทนครชัยแอร์ เพื่อเชื่อมเมืองท่องเที่ยวสำคัญของภูมิภาคในอนาคต ส่วนแผนการเปิดเส้นทางเดินรถระหว่างประเทศของกรมการขนส่งทางบกนั้น ในปัจจุบันมีอยู่ 3 เส้นทาง คือ สายอุบลราชธานี-[[จำปาศักดิ์]], อุบลราชธานี-[[คอนพะเพ็ง]] และ อุบลราชธานี-[[เสียมราฐ]]
 
=== อากาศยาน===
จังหวัดอุบลราชธานี มีท่าอากาศยานนานาชาติจำนวน 1 แห่ง โดยมีเที่ยวบินจากจังหวัดอุบลราชธานีสู่ เส้นทางต่างๆ ดังนี้ <ref>{{cite web|url=http://www.sawadee.co.th/thailand/transfer/air-ubon.html|title=ตารางเที่ยวบินของอุบลราชธานี|author=บริษัท เว็บสวัสดี จำกัด (มหาชน)|accessdate=January 22, 2016|date=2558}}</ref>
* [http://www.thaismileair.com ไทยสมายล์] - กรุงเทพมหานคร (สุวรรณภูมิ)
* [[ไทยแอร์เอเชีย]] - กรุงเทพมหานคร (ดอนเมือง) / เชียงใหม่ / พัทยา (อู่ตะเภา)
* [[นกแอร์]] - กรุงเทพมหานคร (ดอนเมือง)
* [[ไทยไลอ้อนแอร์]] - กรุงเทพมหานคร (ดอนเมือง)
 
=== รถเช่า ===
การบริการรถเช่าในจังหวัดอุบลราชธานีนั้นดำเนินการโดยภาคเอกชน นักท่องเที่ยวสามารถใช้บริการรถเช่าต่างๆได้ที่ท่าอากาศยานนานาชาติอุบลราชธานี หรือติดต่อโดยตรงกับผู้ให้บริการรถเช้าในพื้นที่ ตัวอย่างผู้ให้บริการรถเช้าในพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี เช่น
* Ecocar สาขาอุบลราชธานี มีจุดรับและคืนรถเช่า ณ สนามบินนานาชาติอุบลราชธานี
* ยุวดี รถเช่า
* Jay Jay Carrent Ubon
 
=== รถเมล์หรือรถสองแถวประจำทาง ===
[[ไฟล์:เส้นทางเดินรถเมล์เล็ก อุบล.jpg|thumb|350px|right|แผนที่แสดงเส้นทางเดินรถเมล์ขนาดเล็กภายในตัวเมืองอุบลราชธานี-วารินชำราบ]]
ในปัจจุบัน การเดินทางภายในเขตตัวเมืองอุบลราชธานี-วารินชำราบ และบริเวณโดยรอบนั้นมีการบริการด้วยรถสองแถวประจำทางขนาดเล็กที่ให้การบริการโดยเอกชน จำนวนทั้งสิ้น 11 เส้นทาง ดังรายละเอียดต่อไปนี้<ref>{{cite web|url=http://www.guideubon.com/2.0/191/840/|title=ข้อมูลการเดินรถสองแถวจังหวัดอุบลราชธานี|author=GuideUbon|accessdate=January 22, 2016}}</ref>
 
* {{legend2|#333399;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 1 บ้านธาตุ - สามแยกเข้าหมู่บ้านหนองแก
* {{legend2|#006600;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 2 สถานีรถไฟอุบลราชธานี - โรงเรียนศรีปทุมพิทยาคาร
* {{legend2|#FF00CC;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 3 บ้านก่อ - โรงเรียนเทคโนโลยีและเกษตรกรรมอุบลราชธานี
* {{legend2|#FFFFFF;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 4 เรือนจำกลางอุบลราชธานี - โรงเรียนบ้านกุดลาด '''''(ปัจจุบันยกเลิกเส้นทาง)'''''
* {{legend2|#CCCCCC;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที 6 ค่ายสรรพสิทธิประสงค์ - การประปา
* {{legend2|#990099;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 7 ศาลปู่เจ้าคำจันทร์ - วัดพุทธนิคมกิติยาราม
* {{legend2|#00FF00;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 8 บ้านปลาดุก - สถานีโทรคมนาคมอุบลราชธานี
* {{legend2|#0099FF;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 9 ตลาดสดวารินชำราบ - หาดคูเดื่อ
* {{legend2|#FFCC00;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 10 ศาลาบ้านดู่ - ศูนย์อพยพ
* {{legend2|#CCCC00;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 11 บ้านบุ่งกาแซว - บ้านด้ามพร้า
* {{legend2|#AA0000;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 12 สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ - บ้านดง
* {{legend2|#FFFFFF;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 13 วงเวียนบ้านท่าข้องเหล็ก - โรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ - สถานีขนส่งผู้โดยสารอุบลราชธานี '''''(ปัจจุบันยกเลิกเส้นทาง)'''''
* {{legend2|#FF0000;|border=1px solid #AAAAAA}} สายที่ 14 (ขึ้นต้นด้วยอักษร ม.) มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี - สถานีขนส่งผู้โดยสารอุบลราชธานี
 
=== รถแท็กซี่ ===
สำหรับการเดินทางในเขตเมืองอุบลราชธานีและวารินชำราบนั้น ในปัจจุบันมีแท็กซี่มีเตอร์ให้บริการประมาณ 500 คัน ภาคเอกชนที่เปิดให้บริการเดินรถแท็กซี่ในจังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่<ref>{{cite web|url=http://www.la.ubu.ac.th/mekongconference2/documents/hotel.pdf|author=มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี|title=การเดินทางไปจังหวัดอุบลราชธานี|accessdate=January 22, 2016}}</ref>
* '''บริษัท แท็กซี่อุบล จำกัด''' ให้บริการในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี ศรีสะเกษ อำนาจเจริญ มุกดาหาร และยโสธร
* '''หจก. อุบลแท๊กซี่มิเตอร์พัฒนา''' ให้บริการในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
* '''บริษัท สหการอุบล 2011 จำกัด''' ให้บริการในเขตพื้นที่จังหวัดอุบลราชธานี
 
== ประชากรศาสตร์ ==
เส้น 741 ⟶ 735:
ถือเป็นประเพณีสำคัญอันเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของเมืองอุบลราชธานีศรีวนาลัยโดยแท้จริง
เรียบเรียงข้อมูลโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วิศปัตย์ ชัยช่วย
 
== อื่นๆ ==
 
== อ้างอิง ==