ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ซีพี ออลล์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 28:
* ร้านสาขาบริษัท เป็นร้านที่บริษัทเป็นเจ้าของและบริหารเองทั้งหมด
* ร้าน Store Business Partner (SBP) เป็นร้านที่ทางบริษัทช่วยเหลือในการดำเนินธุรกิจแก่นักลงทุน โดยเลือกจากเซเว่น อีเลฟเว่นของทางบริษัทที่เปิดดำเนินการอยู่แล้ว หรืออาจทำธุรกิจในทำเลของตัวเอง โดยระยะเวลาอนุญาตให้ดำเนินการร้านและผลประโยชน์ตอบแทน ขึ้นอยู่กับประเภทของ SBP
* ผู้ประกอบการรับสิทธิ์ช่วงในอาณาเขต (Sub-Area License) เป็นร้านที่บริษัททำสัญญาอนุญาตให้สิทธิ์ช่วงแก่ผู้ประกอบการท้องถิ่น โดยมีกลุ่มตันตรานนท์ ผู้ประกอบการค้าปลีกท้องถิ่นรายใหญ่ของเชียงใหม่ ดูแลพื้นที่[[เชียงใหม่]] [[แม่ฮ่องสอน]] [[ลำพูน]], กลุ่มงามทวี ดูแลพื้นที่ภาคใต้ตอนบน เช่น [[ภูเก็ต]] [[กระบี่]] [[ตรัง]], กลุ่มศรีสมัย ดูแลบางจังหวัดในภาคใต้ตอนล่าง เช่น [[ยะลา]] และกลุ่มยิ่งยง ดูแลการขยายเซเว่น อีเลฟเว่นใน 4 จังหวัดภาคอีสาน ได้แก่ [[อุบลราชธานี]] [[สุรินทร์]] [[ศรีสะเกษ]] และ[[อำนาจเจริญ]]<ref>[{{cite news|url=https://www.brandbuffet.in.th/2017/12/cpall-create-sub-area-license-model-expand-province/|title= ล้วงลึก “ระบบ Sub-Area License” โมเดลขยายสาขา “เซเว่น อีเลฟเว่น” ในต่างจังหวัด]|date=27 ธันวาคม 2560|work=Brand Buffet|access-date=4 เมษายน 2562}}</ref> กลุ่มเหล่านี้ได้รับสิทธิ์ช่วงรับผิดชอบการเปิดสาขาและบริหารร้าน
 
===การตลาด===
เซเว่น อีเลฟเว่น ในยุคแรกมีรูปแบบเป็น[[มินิมาร์ต]] คือเน้นขายสินค้าที่ไม่ใช่อาหารมากกว่า ในช่วง 20 สาขาแรก ได้มีการลงทุนเองโดยการซื้อตึกมาเปิดสาขาเอง แต่หลังจากนั้นหันมาใช้วิธีการเช่าแทนจึงทำให้สามารถขยายสาขาได้อย่างรวดเร็ว หลังจากปี พ.ศ. 2533 ได้เปลี่ยนกลยุทธ์การใช้ระบบแฟรนไชส์ และซับแอเรียไลเซนซ์ (ผู้ประกอบการรับสิทธิ์ช่วงในอาณาเขต) ถือเป็นที่แรกในโลกที่ใช้ระบบซับแอเรียไลเซนซ์<ref name="brandage">[{{cite news|url=http://www.brandage.com/article/9336/7-Eleven 5 |title=จุดเปลี่ยนเซเว่น อีเลฟเว่น ก่อนที่จะเป็นเบอร์ 1 แบบแกร่งทั่วแผ่น]|work=แบรนด์เอจ|date=3 ธันวาคม 2561|access-date=4 เมษายน 2562}}</ref> เมื่อขยายได้เกิน 400 สาขา ทำให้บริษัทผ่านจุดคุ้มทุน จึงมีเงินเหลือในการลงทุนด้านต่าง ๆ เพื่อเข้ามาสนับสนุนการทำตลาด เช่น เปิดสถาบันปัญญาภิวัฒน์ เพื่อพัฒนาทีมงานด้านค้าปลีกโดยเฉพาะ<ref name="brandage"/>
 
อีกหนึ่งกลยุทธ์การตลาด คือแสตมป์เซเว่น อีเลฟเว่น ที่เริ่มใช้ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2542<ref>[https://positioningmag.com/1182156 “แสตมป์แห่งสยาม” เมื่อโปรโมชั่นแสตมป์ถูกตีตราโดยเซเว่น จ่าย 50 ได้คืน 1 บาท ไม่ใช่ประเด็นของคนคลั่งแสตมป์]</ref> กับแนวคิดเริ่มต้นคือ การให้ส่วนลดกับลูกค้าที่ใช้บริการ แต่ประยุกต์ในรูปแบบการสะสมแสตมป์ โดยจัดต่อเนื่องทุกปี ภายหลังมีการนำคาแรกเตอร์ หรือตัวละครต่าง ๆ เข้ามาในแสตมป์ นอกจากการสะสมแปะไว้ในสมุดสะสมแสตมป์ ยังมีรูปแบบการสะสมแบบ เอ็ม-แสตมป์ (M-Stamp) ผ่านแอปพลิเคชันทางโทรศัพท์มือถือ วิธีการสะสมแสตมป์ได้รับความนิยม จนร้านสะดวกซื้อรายอื่นหันมาทำตาม อาทิ [[เทสโก้ โลตัส]] และ[[ลอว์สัน 108]]<ref>[https://www.brandbuffet.in.th/2018/07/stamp-collection-signature-campaign-7-eleven/ แคมเปญแสตมป์ช่วยเพิ่มยอดขายได้อย่างไร !? จนทำให้เซเว่นฯ ติดใจ ถึงต้องจัดหนักทุกปี]</ref>