ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนราชวินิตบางเขน"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Pachernchai (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
PANARIN (คุย | ส่วนร่วม)
ปรับปรุงบทความให้เป็นกลาง ตัดเนื้อหาที่ดูเหมือนการโฆษณาสถานศึกษาออกเพื่อไม่ให้เข้าข่ายการโฆษณา ปรับปรุงบทความให้มีความทันสมัยและเพิ่มแห่งอ้างอิงของข้อมูล
บรรทัด 1:
{{issues|ต้องการอ้างอิง=yes|ปรับภาษา=yes|แฟนคลับ=yes|ไม่เป็นสารานุกรม=yes|โฆษณา=yes|จัดรูปแบบ=yes}}
 
{{ข้อมูลโรงเรียน
| ชื่อ = โรงเรียนราชวินิตบางเขน
| ภาพ = [[ไฟล์:Rajanivitbangkhen School Logo.png|250px]]
| ภาพ = ตราประจำโรงเรียนราชวินิตบางเขน
| ชื่ออังกฤษ = RajavinitbangkhenRajanivitbangkhen School
| abbr = ร.น.บ. (RVB)
| code = 10001041011010720143
| founder = คุณย่าผัน คำจงจิตร,<br/>พระครูสุวรรณสุทธารมย์
| class_range = มัธยมศึกษาตอนต้นและตอนปลาย
| คำขวัญmotto = '''ปรัชญา'''<br/> ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ (<br/> ในหมู่มนุษย์ทั้งหลาย ผู้ฝึกตนดีแล้วเป็นผู้ประเสริฐสุดในหมูมนุษย์)
<br/>'''คติพจน์'''<br/>มีวินัย ใฝ่ศึกษา พัฒนาชุมชน
| motto = '''สถานที่อบรมกุลบุตร กุลธิดา ให้เป็นคนดี โดยพระราชา''' <br> <br><small> </small>
| ก่อตั้ง = พ.ศ. 2530
| ประเภท = [[โรงเรียนรัฐบาล|รัฐบาล]] สังกัด [[สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน|สพฐ.]]
| students = 1,756 คน {{เทาเล็ก| (ข้อมูล ณ วันที่ 10 มิถุนายน 2561)}}<ref>http://data.bopp-obec.info/emis/schooldata-view_student.php?School_ID=1010720143&Area_CODE=101702 จำนวนนักเรียนโรงเรียนราชวินิตบางเขน</ref>
| head_name = ผู้อำนวยการโรงเรียน
| head = นายชวิศ จิตปุณยพงศ์
| song = มาร์ชราชวินิตบางเขน, พราวชมพู
| tree = ชมพูพันธุ์ทิพย์
| colours = {{แถบสีสามกล่อง|Navy blue}} {{แถบสีสามกล่อง|White}} [[น้ำเงินกรมท่า]] - [[ขาว]]
| สี = {{color box|pink}}{{color box|white}} [[สีชมพู-ขาว]]
| address = 22/18 [[ซอยชินเขต]]1/22 [[ถนนงามวงศ์วาน]] แขวงทุ่งสองห้อง [[เขตหลักสี่]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10210 ประเทศไทย {{flagicon|Thailand}} โทร 0 2580 1555
| headman = ชวิศ จิตปุณยพงศ์
| website = [http://www.rvb.ac.th โรงเรียนราชวินิตบางเขน]
 
}}
 
'''โรงเรียนราชวินิตบางเขน''' เป็นโรงเรียนสหศึกษาระดับ[[มัธยมศึกษา]] สังกัด[[กระทรวงศึกษาธิการ]] ตั้งอยู่ที่เลขที่ 22/18 ซอยชินเขต 1/22 [[ถนนงามวงศ์วาน]] แขวงทุ่งสองห้อง [[เขตหลักสี่]] [[กรุงเทพมหานคร]] 10210
โดยโรงเรียนราชวินิตบางเขนเป็นหนึ่งใน 8 ของโรงเรียนเครือราชวินิตทั้ง 8 โรงเรียน ซึ่งเป็นโรงเรียนในพระบรมราชูปถัมภ์ของ[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ในหลวงรัชกาลที่ ๙
 
== ประวัติโรงเรียน ==
โรงเรียนราชวินิตบางเขน กรมสามัญศึกษา ตั้งอยู่ที่เลขที่ 22/18 หมู่บ้านชินเขตซอย 1/22 แขวงทุ่งสองห้อง เขตหลักสี่ กรุงเทพมหานคร เนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 13 ตารางวา เดิมเป็นที่ดินของคุณย่าผัน คำจงจิตร สภาพพื้นที่เดิมเป็นที่ลุ่ม มีแอ่งน้ำ ต้นกก และ หญ้าปล้องขึ้นเต็มบริเวณพื้นที่ คุณย่าผัน คำจงจิตร ได้มอบที่ดินแปลงนี้ให้แก่วัดทองสุทธาราม แขวงบางซื่อ ปีพุทธศักราช 2528 พระครูสุวรรณสุทธารมย์ เจ้าอาวาสวัดทองสุทธาราม คณะกรรมการวัดทองสุทธาราม และนายสุรินทร์ ต่อเนื่อง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา (ในขณะนั้น) เห็นว่าโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา ซึ่งก่อสร้างอยู่ในที่ดินของวัดทองสุทธารามได้รับนักเรียนเข้าเรียนตามเป้าหมาย และนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นจำนวนมากในแขวงบางซื่อ ท่าทราย ทุ่งสองห้อง และอำเภอเมืองนนทบุรียังไม่มีโรงเรียนใกล้บ้าน ต้องเดินทางไปเรียนต่อ ยังโรงเรียนที่อยู่ไกลๆ ด้วยเจตนารมย์ และศรัทธาของท่านพระครูสุวรรณสุทธารมย์ในการที่จะให้การสนับสนุนการศึกษาของชาติ และให้เยาวชนไทยทุกฐานะ ได้เข้าศึกษาต่อในโรงเรียนมัธยมศึกษาให้มากขึ้น
 
[[โรงเรียนราชวินิตบางเขน]] มีเนื้อที่ 9 ไร่ 2 งาน 13 ตารางวา เดิมเป็นที่ดินของคุณย่า[[ผัน คำจงจิตร]] สภาพพื้นที่เดิมเป็นที่ลุ่ม มีแอ่งน้ำ ต้นกก และ หญ้าปล้องขึ้นเต็มบริเวณพื้นที่ คุณ[[ย่าผัน คำจงจิตร]] ได้มอบที่ดินแปลงนี้ให้แก่[[วัดทองสุทธาราม]] แขวงบางซื่อ ปีพุทธศักราช 2528 [[พระครูสุวรรณสุทธารมย์]] เจ้าอาวาส[[วัดทองสุทธาราม]] คณะกรรมการวัดทองสุทธาราม และ[[นายสุรินทร์ ต่อเนื่อง]] ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา]] (ในขณะนั้น) เห็นว่าโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา ซึ่งก่อสร้างอยู่ในที่ดินของวัดทองสุทธารามได้รับนักเรียนเข้าเรียนตามเป้าหมาย และนักเรียนที่จบชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เป็นจำนวนมากในแขวงบางซื่อ ท่าทราย ทุ่งสองห้อง และอำเภอเมืองนนทบุรียังไม่มีโรงเรียนใกล้บ้าน ต้องเดินทางไปเรียนต่อ ยังโรงเรียนที่อยู่ไกลๆ ด้วยเจตนารมย์ และศรัทธาของท่าน[[พระครูสุวรรณสุทธารมย์]]ในการที่จะให้การสนับสนุนการศึกษาของชาติ และให้เยาวชนไทยทุกฐานะ ได้เข้าศึกษาต่อในโรงเรียนมัธยมศึกษาให้มากขึ้น
วัดทองสุทธาราม โดยพระครูสุวรรณสุทธารมย์ คณะกรรมการวัดทองสุทธาราม ได้ทำหนังสืออนุญาต ให้กรมสามัญศึกษาใช้ที่ดินแปลงนี้ สร้างโรงเรียนมัธยมศึกษา เดือนมิถุนายน 2529 อธิบดีกรมสามัญศึกษา โดย ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง และเจ้าหน้าที่กรมสามัญศึกษา นายสุรินทร์ ต่อเนื่อง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา ได้เข้ามาสำรวจพื้นที่ ที่จะก่อสร้างโรงเรียน วันที่ 14 สิงหาคม 2529 กรมสามัญศึกษาได้ตอบรับการใช้ที่ดินแปลงนี้ก่อสร้าง โรงเรียนมัธยมศึกษาปีการศึกษา 2530 กรมสามัญศึกษาได้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 โรง ชื่อ "โรงเรียนบางเขนวิทยา" โดยเช่าพื้นที่นี้กับกรมการศาสนาเป็นเวลา 30 ปี และสิ้นสุดตามสัญญาเช่าในวันที่ 22 กรกฎาคม 2531
 
[[วัดทองสุทธาราม]] โดย[[พระครูสุวรรณสุทธารมย์]] คณะกรรมการวัดทองสุทธาราม ได้ทำหนังสืออนุญาต ให้กรมสามัญศึกษาใช้ที่ดินแปลงนี้ สร้างโรงเรียนมัธยมศึกษา เดือนมิถุนายน 2529 อธิบดีกรมสามัญศึกษา โดย[[ดร.เอกวิทย์ ณ ถลาง]] และเจ้าหน้าที่กรมสามัญศึกษา [[นายสุรินทร์ ต่อเนื่อง]] ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา]] ได้เข้ามาสำรวจพื้นที่ ที่จะก่อสร้างโรงเรียน วันที่ 14 สิงหาคม 2529 กรมสามัญศึกษาได้ตอบรับการใช้ที่ดินแปลงนี้ก่อสร้าง โรงเรียนมัธยมศึกษาปีการศึกษา 2530 กรมสามัญศึกษาได้เปิดโรงเรียนมัธยมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 โรง ชื่อ "[[โรงเรียนบางเขนวิทยา|โรงเรียนราชวินิตบางเขน]]" โดยเช่าพื้นที่นี้กับกรมการศาสนาเป็นเวลา 30 ปี และสิ้นสุดตามสัญญาเช่าในวันที่ 22 กรกฎาคม 2531
 
* วันที่ 16 เมษายน 2530 [[กรมสามัญศึกษา]]ได้มอบหมายให้[[โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา]] ซึ่งเป็นโรงเรียนพี่ เป็นผู้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าเรียนใน[[โรงเรียนบางเขนวิทยา]] จำนวน 4 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 200 คน โดยมี[[นายสุรินทร์ ต่อเนื่อง]] ผู้อำนวยการ[[โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา]] เป็นผู้ดูแลการจัดตั้ง[[โรงเรียนบางเขนวิทยา]]และปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารเป็นการชั่วคราว
 
* วันที่ 16 เมษายน 2530 กรมสามัญศึกษาได้มอบหมายให้โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา ซึ่งเป็นโรงเรียนพี่ เป็นผู้รับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เข้าเรียนในโรงเรียนบางเขนวิทยา จำนวน 4 ห้องเรียน มีนักเรียนจำนวน 200 คน โดยมีนายสุรินทร์ ต่อเนื่อง ผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา เป็นผู้ดูแลการจัดตั้งโรงเรียนบางเขนวิทยาและปฏิบัติหน้าที่ผู้บริหารเป็นการชั่วคราว ปีการศึกษา 2531 [[กรมสามัญศึกษา]]อนุมัติให้โรงเรียนบางเขนวิทยา รับนักเรียนเข้าเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 6 ห้องเรียน นักเรียนจำนวน 300 คน โดยใช้อาคารเรียนที่[[โรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา]]
 
* วันที่ 1 มิถุนายน 2531 [[นายวินัย นุ่นพันธ์]] ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยา ได้รับคำสั่งให้รักษาการในตำแหน่ง "ครูใหญ่โรงเรียนบางเขนวิทยา"
 
* วันที่ 20 กรกฎาคม 2531 [[นายวินัย นุ่นพันธ์]] ผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยารักษาการในตำแหน่ง ครูใหญ่โรงเรียนบางเขนวิทยา ได้รับมอบอำนาจเป็นผู้แทนกรมสามัญศึกษาลงนามในหนังสือกรรมสิทธิ์การใช้ที่ดินแปลงนี้สร้างโรงเรียน เมื่อดำเนินการในเรื่องที่ดินเรียบร้อยแล้วโรงเรียนบางเขนวิทยาได้ดำเนินการจัดทำ โครงการ "รวมน้ำใจสู่ บ.ว." เพื่อระดมทุนทำห้องเรียนชั่วคราวของโรงเรียนบางเขนวิทยา โดยปรับปรุงพื้นที่ ซ่อมแซมโรงเรือนที่บริษัทชินเขตมอบให้กับโรงเรียนโดยได้รับการสนับสนุนจากสมาคมผู้ปกครองและครูโรงเรียน สุวรรณสุทธารามวิทยา ชมรมผู้ปกครองและครูโรงเรียนบางเขนวิทยา คณะกรรมการวัดทองสุทธารามและผู้มีอุปการคุณ ในหมู่บ้านชินเขต
 
* วันที่ 16 สิงหาคม 2531 คณะครู อาจารย์และนักเรียนโรงเรียนบางเขนวิทยา ได้เข้ามาพัฒนาพื้นที่บริเวณที่จะทำอาคารชั่วคราว ซึ่งมีต้นกกสูงท่วมศีรษะ
เส้น 42 ⟶ 45:
* วันที่ 28 กันยายน 2531 สำนักงบประมาณได้อนุมัติเงินงบประมาณก่อสร้างอาคารเรียน ให้แก่โรงเรียนบางเขนวิทยา
 
* วันที่ 11 ตุลาคม 2531 ได้ขนย้ายวัสดุอุปกรณ์จากโรงเรียนสุวรรณสุทธารามวิทยามาสู่โรงเรียนบางเขนวิทยา และเปิดทำการเรียนการสอน ณ โรงเรียนบางเขนวิทยา ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2531 ซึ่งเป็นภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2531 โรงเรียนบางเขนวิทยาได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ให้ใช้ชื่อโรงเรียนว่า "โรงเรียนราชวินิตบางเขน" เพื่อเป็นไปตามพระราชดำริในการจัดตั้งโรงเรียน ดังนั้นในวันที่ 2 กรกฎาคม 2534 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปลี่ยนชื่อโรงเรียนบางเขนวิทยาเป็น "โรงเรียนราชวินิตบางเขน" สืบต่อไป และได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต จากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้อัญเชิญ "พระมหาพิชัยมงกุฎ" เป็นตราสัญลักษณ์ของโรงเรียน
 
*ในวันที่ 1 พฤศจิกายน 2531 ซึ่งเป็นภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2531 โรงเรียนบางเขนวิทยาได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาตจาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ให้ใช้ชื่อโรงเรียนว่า "[[โรงเรียนราชวินิตบางเขน]]" เพื่อเป็นไปตามพระราชดำริในการจัดตั้งโรงเรียน ดังนั้นในวันที่ 2 กรกฎาคม 2534 กระทรวงศึกษาธิการได้ออกประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ให้เปลี่ยนชื่อ[[โรงเรียนบางเขนวิทยา]] เป็น "โรงเรียนราชวินิตบางเขน" สืบต่อไป และได้รับพระราชทานพระบรมราชานุญาต จาก[[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช]] ให้อัญเชิญ "[[พระมหาพิชัยมงกุฎ]]" เป็นตราสัญลักษณ์ของโรงเรียน <ref>http://www.rvb.ac.th/info1.html ประวัติโรงเรียนราชวินิตบางเขน</ref>
* วันที่ 25 พฤศจิกายน 2540 โรงเรียนราชวินิตบางเขนได้ผ่านเกณฑ์การประเมิน และได้รับการประกาศให้เป็น โรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่นของกรมสามัญศึกษา ประจำปีการศึกษา 2540 วันที่ 30 มกราคม 2541นับว่าเป็นความภูมิใจของพวกเรา ชาวราชวินิตบางเขนเป็นอย่างมาก
 
* พ.ศ. 2546 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนในฝัน
 
* พ.ศ. 2547 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
 
* พ.ศ. 2547 ได้รับการคัดเลือกจากสำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ( สพฐ เข้าโครงการเป็นตัวแทนโรงเรียนเดียวของกรุงเทพมหานครให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการให้ความรู้เรื่อง "การเพิ่มผลผลิตในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา" และ ได้รับการคัดเลือกจากชุมชนและคณะกรรมการการศึกษาเขตหลักสี่ให้เป็นโรงเรียน ในโครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝันซึ่งนับว่าเป็นเกียรอย่างยิ่งที่ชุมชนให้การยอมรับ
 
* พ.ศ. 2548 ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำในโครงการ “ก้าวย่างอย่างเข้าใจ“เพื่อส่งเสริมเพศศึกษาสำหรับเยาวชนโดยได้รับการสนับสนุนของกองทุนโลกโดยกระทรวงสาธารณสุข และ ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำของสำนักงานคณะกรรมการผู้คุ้มครองผู้บริโภค
 
* 14 กุมภาพันธ์ 2549 ได้ผ่านการรับรองการเป็นต้นแบบโรงเรียนในฝันตามโครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน
 
== แผนการเรียน ==
=== ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ===
* หลักสูตรภาคปกติ
* ห้องเรียนพิเศษ (Talented class program )
* หลักสูตรความเป็นเลิศด้านวิชาการ (Talent )
**Intensive Science - Math Program : ISMP
**Intensive English Program : IEP
 
=== ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ===
แผนการเรียน (ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย) มีดังนี้
* ห้องเรียนพิเศษ (Talented class program )
 
**Intensive Science - Math Program : ISMP
* โครงสร้าง วิทยาศาสตร์ - คณิตศาสตร์
**Intensive Math - English Program : IMEP
* โครงสร้าง คณิตศาสตร์ - ภาษาอังกฤษ
*ห้องเรียนปกติ
* โครงสร้าง ศิลป์ (อังกฤษ) - ญี่ปุ่น
** โครงสร้าง ศิลป์วิทยาศาสตร์ (อังกฤษ) - จีนคณิตศาสตร์
** โครงสร้าง ไทยคณิตศาสตร์ - สังคมภาษาอังกฤษ
** โครงสร้าง ทักษะอาชีพศิลป์ (อังกฤษ) - ญี่ปุ่น
** โครงสร้าง ศิลป์ (อังกฤษ) - จีน
** โครงสร้าง ไทย - สังคม
** โครงสร้าง ทักษะอาชีพ<ref>http://www.rvb.ac.th/Update/pdf/Regulation_2019.pdf เอกสารรับสมัครนักเรียนโรงเรียนราชวินิตบางเขน</ref>
 
== คณะสีภายในโรงเรียน ==
1.#คณะอินทนิล (สีฟ้า)
2.#คณะสุพรรณิการ์ (สีเหลือง)
3.#คณะปาริชาติ (สีแดง)
4.#คณะการเวก (สีเขียว5.)
#คณะทองกวาว (สีแสด)
 
*
 
== สิ่งก่อสร้างภายในโรงเรียน ==
เส้น 99 ⟶ 96:
! style="background: #F19CBB; color:black;"| รายชื่อ
! style="background: #F19CBB; color:black;"| ระยะเวลาอยู่ในตำแหน่ง
! style="background: #F19CBB; color:black;"| อ้างอิง
|-
| valign = "top" |1. นายสุรินทร์ ต่อเนื่อง
| valign = "top" |[[พ.ศ. 2530]]-[[พ.ศ. 2530]]
| valign = "top" |
|-
| valign = "left" style="background: #DDBEC3" |2. นายวินัย นุ่นพันธ์
| valign = "top" style="background: #DDBEC3" |[[พ.ศ. 2531]]-[[พ.ศ. 2540]]
| valign = "top" style="background: #DDBEC3" |
|-
| valign = "top" |3. นางยุพา จิตเกษม
| valign = "top" |[[พ.ศ. 2540]]-[[พ.ศ. 2542]]
| valign = "top" |
|-
| valign = "left" style="background: #DDBEC3" |4. นางวิมวดี ธรรมาธิคม
| valign = "top" style="background: #DDBED3" |[[พ.ศ. 2542]]-[[พ.ศ. 2544]]
| valign = "top" style="background: #DDBED3" |
|-
| valign = "top" |5. นางสาลินี มีเจริญ
| valign = "top" |[[พ.ศ. 2545]]-[[พ.ศ. 2550]]
| valign = "top" |
|-
| valign = "left" style="background: #DDBEC3" |6. นายเฉลียว พงศาปาน
| valign = "top" style="background: #DDBEC3" |[[พ.ศ. 2550]]-[[พ.ศ. 2556]]
| valign = "top" style="background: #DDBEC3" |
|-
| valign = "top" |7. นายเรืองยศ อุตรศาสตร์
| valign = "top" |[[พ.ศ. 2556]]-[[พ.ศ. 2559]]
| valign = "top" |
|-
| valign = "left" style="background: #DDBEC3" |8. ดร.สันต์ธวัช ศรีคำแท้
| valign = "top" style="background: #DDBEC3" |[[พ.ศ. 2559]]-[[19 ตุลาคม- พ.ศ. 2561]]
| valign = "top" style="background: #DDBEC3" |<ref>http://www.e-newsbkk2.org/bkk2/forum/data/15/pic/1558.pdf คำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่ 504/2561 ย้ายนายสันต์ธวัช ศรีคำแท้ ผู้อำนวยการโรงเรียนราชวินิตบางเขน ไปเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาพัฒนาการ รัชดา (รายชื่อโยกย้ายลำดับ 28)</ref>
|-
| valign = "top" |9. นายชวิศ จิตปุณยพงศ์
| valign = "top" |[[19 ตุลาคม พ.ศ. 2561]] -[[ ปัจจุบัน]]
| valign = "top" |<ref>http://www.e-newsbkk2.org/bkk2/forum/data/15/pic/1558.pdf คำสั่งสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดกรุงเทพมหานคร ที่ 504/2561 ย้ายนายชวิศ จิตปุณยพงศ์ ผู้อำนวยการโรงเรียนสุธีวิทยา ไปเป็นผู้อำนวยการโรงเรียนราชวินิตบางเขน(รายชื่อโยกย้ายลำดับ 29)</ref>
|}
 
=== รองผู้อำนวยการรางวัลที่โรงเรียนราชวินิตบางเขนได้รับ ===
 
{| border="1" cellpadding="4" cellspacing="1" style="margin: 1em 1em 1em 0; background: #f9f9f9; border: 1px #aaa solid; border-collapse: collapse; font-size: 95%;"
{| class="wikitable" style=text-align:center;
|- style="background:#cccccc"
! ปี
! width=50%| ชื่อ
! เกียรติประวัติ
! ตำแหน่ง
! หน่วยงานที่ให้การยกย่อง
|-
| align = center|
| รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงบประมาณ
|-
| align = center|
| รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
|-
| align = center|
| รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารทั่วไป
|-
| 2540
| align = center|
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนมัธยมศึกษาดีเด่น (ประกาศเมื่อวันที่ 30 มกราคม 2541)
| รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานบุคคล
| [[กรมสามัญศึกษา ]]
|-
| 2546
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนในฝัน
| สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|-
| rowspan="3"| 2547
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนต้นแบบโครงการให้ความรู้เรื่อง "การเพิ่มผลผลิตในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา"
| rowspan="2'| สำนักงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|-
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียน ในโครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน
|-
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีของสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
| สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
|-
| rowspan="2| 2548
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำในโครงการ “ก้าวย่างอย่างเข้าใจ“ เพื่อส่งเสริมเพศศึกษาสำหรับเยาวชน
| กระทรวงสาธารณสุข
|-
| style = "text-align:left;"| ได้รับคัดเลือกให้เป็นโรงเรียนแกนนำของสำนักงานคณะกรรมการผู้คุ้มครองผู้บริโภค
| สำนักงานคณะกรรมการผู้คุ้มครองผู้บริโภค
|-
| 2549
| style = "text-align:left;"| ได้รับการคัดเลือกให้เป็นต้นแบบโรงเรียนในฝันตามโครงการ 1 อำเภอ 1 โรงเรียนในฝัน
|สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
|}
 
'''ผลงานด้านกีฬายูโดของโรงเรียน'''
ผลงานโดยรวม
ชนะเลฺศทีมคะแนนรวมยอดเยี่ยม รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชาย กีฬานักเรียนกรมพลศึกษา 3 ปี ซ้อน
ชนะเลิศทีมคะแนนรวมยอดเยี่ยม รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชาย กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร 3 ปี ซ้อน
ชนะเลิศทีมคะแนนรวมยอดเยี่ยม รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชาย กีฬานักเรียนกองทัพอากาศ
ชนะเลิศกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
ชนะเลิศกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
ชนะเลิศกีฬาเยาวชนแห่งชาติ รอบคัดเลือกตัวแทนภาค 1 กรุงเทพมหานคร,นนทบุรี ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน
ชนะเลิศกีฬาเยาวชนแห่งชาติ รอบมหกรรม ตัวแทนภาค 1 กรุงเทพมหานคร,นนทบุรี ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
ชนะเลิศกีฬาแห่งชาติ รอบคัดเลือกตัวแทนภาค 1 กรุงเทพมหานคร,นนทบุรี ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
ชนะเลิศและรองชนะเลิศกีฬายูโดนักเรียนนานาชาติ หลายรายการ
ชนะเลิศกีฬาซีเกมส์ ประเภทต่อสู้ ชาย และท่าทุ่มมาตรฐาน หญิง
 
'''ผลงานด้านกีฬาฟุตบอลและฟุตซอลของโรงเรียน'''
 
*'''ผลงานด้านกีฬายูโดของโรงเรียน'''
- ชนะเลิศฟุตซอลเอสแบคนนทบุรีคัพชิงถ้วยประทานพระองค์เจ้าโสมฯ รุ่น 18 ปี (2557)
**ชนะเลฺศทีมคะแนนรวมยอดเยี่ยม รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชาย กีฬานักเรียนกรมพลศึกษา 3 ปี ซ้อน
- ชนะเลิศฟุตซอลเนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีกถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ รุ่น 17 ปี (2557,2558)
**ชนะเลิศทีมคะแนนรวมยอดเยี่ยม รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชาย กีฬานักเรียนกรุงเทพมหานคร 3 ปี ซ้อน
- ชนะเลิศฟุตซอล สพฐ.เกมส์รอบ กทม.รุ่น 18 ปี (2555)
**ชนะเลิศทีมคะแนนรวมยอดเยี่ยม รุ่นอายุไม่เกิน 16 ปี ชาย กีฬานักเรียนกองทัพอากาศ
- ชนะเลิศฟุตซอลกรมพลศึกษารุ่น 16 ปีประเภท ก. (2556,2557)
**ชนะเลิศกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งประเทศไทย ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
- ชนะเลิศฟุตซอลมหานครเกมส์ รุ่น 16 ปี ( 2554,2555,2556)
**ชนะเลิศกีฬานักเรียนนักศึกษาแห่งชาติ ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
- ชนะเลิศฟุตซอลนอทร์กรุงเทพคัพชิงถ้วยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ รุ่น 16 ปี (2557,2558)
**ชนะเลิศกีฬาเยาวชนแห่งชาติ รอบคัดเลือกตัวแทนภาค 1 กรุงเทพมหานคร,นนทบุรี ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน
- ชนเลิศฟุตบอล 7 คนกีฬาธนาคารโรงเรียน รุ่น 15 ปี (2553)
**ชนะเลิศกีฬาเยาวชนแห่งชาติ รอบมหกรรม ตัวแทนภาค 1 กรุงเทพมหานคร,นนทบุรี ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
)
**ชนะเลิศกีฬาแห่งชาติ รอบคัดเลือกตัวแทนภาค 1 กรุงเทพมหานคร,นนทบุรี ประเภทต่อสู้และท่าทุ่มมาตรฐาน ชาย,หญิง
- ชนะเลิศฟุตซอลไมโลชิงแชมป์ประเทศไทยรุ่น 15 ปี (2556)
**ชนะเลิศและรองชนะเลิศกีฬายูโดนักเรียนนานาชาติ หลายรายการ
- ชนะเลิศฟุตซอล กฟน.ชิงแชมป์ประเทศไทยรุ่น 15 ปี (2556)
**ชนะเลิศกีฬาซีเกมส์ ประเภทต่อสู้ ชาย และท่าทุ่มมาตรฐาน หญิง
- ชนะเลิศฟุตซอลเนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีกรุ่น 15 ปี (2555,2556,2557)
*'''ผลงานด้านกีฬาฟุตบอลและฟุตซอลของโรงเรียน'''
- ชนะเลิศฟุตซอลเอสแบคนนทบุรีคัพถ้วยประทานพระองค์เจ้าโสมฯรุ่น 15 ปี (2554,2556,2557)
- **ชนะเลิศฟุตซอลกรมพลศึกษาเอสแบคนนทบุรีคัพชิงถ้วยประทานพระองค์เจ้าโสมฯ รุ่น 1418 ปีประเภท ก.(25562557)
-** ชนะเลิศฟุตซอลมหานครเกมส์เนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีกถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ รุ่น 1417 ปี (25562557,2558)
-** ชนะเลิศฟุตซอลเอสแบคนนทบุรีคัพชิงถ้วยประทานพระองค์เจ้าโสม สพฐ.เกมส์รอบ กทม.รุ่น 1318 ปี (25572555)
-** รองชนะเลิศ กทม.ฟุตซอลลีกกรมพลศึกษารุ่น 1716 ปีประเภท ก. (2556,2557)
-** รองชนะเลิศฟุตซอลกีฬาเยาวชนแห่งชาติครั้งที่ 31 "จันทบูรณ์เกมส์"มหานครเกมส์ รุ่น 1716 ปี (2558 2554,2555,2556)
-** รองชนะเลิศฟุตซอลเนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีกฟุตซอลนอทร์กรุงเทพคัพชิงถ้วยทูลกระหม่อมหญิงอุบลรัตนฯ รุ่น 1516 ปี (25542557,2558)
-** อันดับชนเลิศฟุตบอล 37 ฟุตซอล สพฐ.เกมส์คนกีฬาธนาคารโรงเรียน รุ่น 1815 ปี (25562553)
** ชนะเลิศฟุตซอลไมโลชิงแชมป์ประเทศไทยรุ่น 15 ปี (2556)
- อันดับ 3 ฟุตซอลกรมพลศึกษา 18 ปีประเภท ก. (2557)
** ชนะเลิศฟุตซอล กฟน.ชิงแชมป์ประเทศไทยรุ่น 15 ปี (2556)
อันดับที่ 3 ฟุตบอล 5 คน ฮอนด้ามันส์ทะลุแมตท์ รุ่น 18 ปี (2554)
- อันดับที่ 3** ชนะเลิศฟุตซอลกรมพลศึกษาประเภทเนชั่นแมน สพฐ. ฟุตซอลลีกรุ่น 1415 ปี (2555,2556,2557)
** ชนะเลิศฟุตซอลเอสแบคนนทบุรีคัพถ้วยประทานพระองค์เจ้าโสมฯรุ่น 15 ปี (2554,2556,2557)
- อันดับที่ 3 ฟุตซอลเจเพรสจูเนียร์ฟุตซอลไทยแลนด์แชมป์เปี่ยนชิพรอบชิงชนเลิศแห่งประเทศไทย (2555)
** ชนะเลิศฟุตซอลกรมพลศึกษา 14 ปีประเภท ก.(2556)
- อันดับที่ 3 ฟุตบอล 7 คนกีฬาธนาคารโรงเรียน รุ่น 15 ปี (2554,2555)
-** อันดับที่ 3 เนชั่นแมน สพฐ.ชนะเลิศฟุตซอลลีก มหานครเกมส์รุ่น 1714 ปี (25542556)
** ชนะเลิศฟุตซอลเอสแบคนนทบุรีคัพชิงถ้วยประทานพระองค์เจ้าโสม รุ่น 13 ปี (2557)
- อันดับ 3 กทม.ฟุตซอลลีกรุ่น 15 ปี (2553)
** รองชนะเลิศ กทม.ฟุตซอลลีกรุ่น 17 ปี (2557)
- อันดับที่ 4 ฟุตบอล 7 คนกีฬาธนาคารโรงเรียน รุ่น 18 ปี (2554)
** รองชนะเลิศฟุตซอลกีฬาเยาวชนแห่งชาติครั้งที่ 31 "จันทบูรณ์เกมส์" รุ่น 17 ปี (2558)
- อันดับที่ 5 เนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีก รุ่น 15 ปี (2552)
** รองชนะเลิศฟุตซอลเนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีก รุ่น 15 ปี (2554)
** อันดับ 3 ฟุตซอล สพฐ.เกมส์ รุ่น 18 ปี (2556)
** อันดับ 3 ฟุตซอลกรมพลศึกษา 18 ปีประเภท ก. (2557)
**อันดับที่ 3 ฟุตบอล 5 คน ฮอนด้ามันส์ทะลุแมตท์ รุ่น 18 ปี (2554)
** อันดับที่ 3 ฟุตซอลกรมพลศึกษาประเภท ก. รุ่น 14 ปี (2557)
** อันดับที่ 3 ฟุตซอลเจเพรสจูเนียร์ฟุตซอลไทยแลนด์แชมป์เปี่ยนชิพรอบชิงชนเลิศแห่งประเทศไทย (2555)
** อันดับที่ 3 ฟุตบอล 7 คนกีฬาธนาคารโรงเรียน รุ่น 15 ปี (2554,2555)
** อันดับที่ 3 เนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีก รุ่น 17 ปี (2554)
** อันดับ 3 กทม.ฟุตซอลลีกรุ่น 15 ปี (2553)
** อันดับที่ 4 ฟุตบอล 7 คนกีฬาธนาคารโรงเรียน รุ่น 18 ปี (2554)
** อันดับที่ 5 เนชั่นแมน สพฐ.ฟุตซอลลีก รุ่น 15 ปี (2552)
 
'''ผลงานด้านลูกเสือ - เนตรนารี กองร้อยพิเศษ'''
- จัดตั้งกองลูกเสือจราจร
- จัดตั้งกองลูกเสือบรรเทาและป้องกันสาธารณะภัย
- จัดตั้งกองลูกเสือไซเบอร์
- จัดตั้งกลุ่มลูกเสือวิสามัญ
 
== อ้างอิง ==
เส้น 204 ⟶ 220:
{{เรียงลำดับ|ราชวินิตบางเขน}}
[[หมวดหมู่:โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร]]
[[หมวดหมู่:เขตหลักสี่]]