ผลต่างระหว่างรุ่นของ "กัลยา โสภณพนิช"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
GWT2 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎ประวัติ: {{Citation needed|date=February 2019}}
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
นิลกาฬ (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 23:
 
== ประวัติ ==
คุณหญิง กัลยา โสภณพนิช หรือที่รู้จักในนาม คุณหญิง ดร.กัลยา โสภณพนิช เกิดที่[[อำเภอสีคิ้ว]] [[จังหวัดนครราชสีมา]] เป็นบุตรีคนที่ 2 ในจำนวนพี่น้อง 8 คน ของตระกูล "พงศ์พูนสุขศรี" กัลยา โสภณพนิช สมรสกับ [[โชติ โสภณพนิช|นายโชติ โสภณพนิช]] บุตรชายคนที่ 4 ของ[[ชิน โสภณพนิช|นายชิน โสภณพนิช]] ผู้ก่อตั้ง [[ธนาคารกรุงเทพ]] มีบุตรธิดาด้วยกัน 4 คน
 
คุณหญิง ดร.กัลยา โสภณพนิช สมรสกับ [[โชติ โสภณพนิช|นายโชติ โสภณพนิช]] บุตรชายคนที่ 4 ของ[[ชิน โสภณพนิช|นายชิน โสภณพนิช]] ผู้ก่อตั้ง [[ธนาคารกรุงเทพ]] มีบุตรธิดาด้วยกัน 4 คน
 
== การศึกษา ==
คุณหญิง ดร.กัลยา โสภณพนิช จบการศึกษาระดับปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยม) จาก[[คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]] ในปี [[พ.ศ. 2504]] และได้ทุนโคลัมโบ ไปศึกษาต่อระดับปริญญาโท และได้รับทุนต่อเนื่องในระดับปริญญาเอก สาขานิวเคลียร์[[ฟิสิกส์]] ที่ [[วิทยาลัยอิมพีเรียล]] ในเครือ [[มหาวิทยาลัยลอนดอน]] ([[Imperial College London|Imperial College]] of Science and Technology, [[University of London]]) ของ[[สหราชอาณาจักร]] และสำเร็จการศึกษา[[ปริญญาเอก]] ด้าน High Energy Nuclear Physics เมื่อปี [[พ.ศ. 2513]]
 
== การทำงาน ==
เส้น 34 ⟶ 32:
 
== งานการเมือง ==
คุณหญิง ดร.กัลยา โสภณพนิช เป็นที่รู้จักกันกว้างขวางขึ้น เมื่อลงรับสมัคร[[ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร]] เมื่อ ปี [[พ.ศ. 2543]] ในนามผู้สมัครอิสระ ไม่สังกัดพรรคการเมือง ได้เบอร์ 4 แม้ไม่ได้รับการเลือกตั้ง แต่ก็ได้รับความนิยมจากชาวกรุงเทพมหานครพอสมควร ได้คะแนนมาเป็นลำดับที่ 5 ต่อมาเข้าเป็นสมาชิก [[พรรคประชาธิปัตย์]] ลงสมัครเป็น ส.ส.ระบบบัญชีรายชื่อ ใน[[การเลือกตั้ง]]ปี [[พ.ศ. 2544]] และ[[พ.ศ. 2548]] ต่อมาใน[[การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรในประเทศไทย พ.ศ. 2550]] ได้ลงสมัครส.ส.กรุงเทพมหานคร เขต 8 (สวนหลวง ประเวศ บางนา พระโขนง) สังกัดพรรคประชาธิปัตย์ ชนะการเลือกตั้ง และเป็น[[รัฐบาลเงา|รัฐมนตรีเงา]]ว่าการ[[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]]<ref>[http://www.shadowdp.com เว็บไซต์ ครม.เงา พรรคประชาธิปัตย์]</ref> ต่อจากนั้นได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการ[[กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี]]ในรัฐบาลนายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ภายหลังได้มีการปรับคณะรัฐมนตรีในช่วงเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2553 ทำให้ ดร.คุณหญิงกัลยา ถูกปรับออกจากตำแหน่งรัฐมนตรี <ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/E/072/1.PDF พระบรมราชโองการ ประกาศ ให้รัฐมนตรีพ้นจากความเป็นรัฐมนตรีและแต่งตั้งรัฐมนตรี (รวม ๑๘ ราย)] ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 127 ตอน พิเศษ 72ง วันที่ 8 มิถุนายน 2553</ref> และในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 ได้ลงสมัคร ส.ส. ในระบบบัญชีรายชื่อ ลำดับที่ 7<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2554/A/049/39.PDF ประกาศคณะกรรมการการเลือกตั้ง เรื่อง รายชื่อผู้สมัครรับเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแบบบัญชีรายชื่อ (พรรคประชาธิปัตย์)]</ref> และได้รับเลือกตั้งอีกสมัย กัลยา โสภณพนิช ดำรงตำแหน่ง กรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ด้วย ปัจจุบัน คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นนายกสมาคมแห่งสถาบันพระปกเกล้าอีกด้วย
 
ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ดำรงตำแหน่ง กรรมการสภาที่ปรึกษาพรรคประชาธิปัตย์ และเป็นประธานสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของพรรคประชาธิปัตย์ด้วย
 
ปัจจุบัน ดร.คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช ดำรงตำแหน่ง รองหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และเป็นนายกสมาคมแห่งสถาบันพระปกเกล้าอีกด้วย
 
== การดำรงตำแหน่งที่สำคัญ ==
เส้น 45 ⟶ 39:
 
=== ด้านสิ่งแวดล้อม ===
คุณหญิง ดร.กัลยา โสภณพนิช เป็นที่ปรึกษารัฐมนตรี กระทรวงวิทยาศาสตร์และสิ่งแวดล้อม (ปี พ.ศ. 2528 - 2541), ผู้ร่วมก่อตั้ง และเป็นเลขาธิการมูลนิธิสถาบันราชพฤกษ์, ประธานชมรมป้องกันควันพิษ (ปี พ.ศ. 2533 - 2535), กรรมการสิ่งแวดล้อมเหมืองแร่ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และการพลังงาน (ปี พ.ศ. 2535 - 2540), กรรมการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (สสท.) และกรรมการอำนวยการโครงการ "รุ่งอรุณ" ของกระทรวงศึกษาธิการ สนับสนุนโดยสำนักงานพลังงานแห่งชาติ (สพช.)
 
=== ด้านสังคม ===