ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อะตอม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 6:
| align="center" | [[ไฟล์:Helium atom QM.svg|300px|right|สถานะพื้นของอะตอมฮีเลียม]]
|-
| style="font-size: smaller; text-align: justify;" | ''ภาพวาดอะตอมของ[[ฮีเลียม]] แสดงให้เห็น[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]] (จุดสีชมพู) และการกระจายตัวของ[[เมฆอิเล็กตรอน]] (สีดำ) นิวเคลียสของฮีเลียม-4 (บนขวา) ในความเป็นจริงมีลักษณะเป็นทรงกลมที่สมมาตรและคล้ายคลึงกับเมฆอิเล็กตรอนมากะพ ุ แต่สำหรับนิวเคลียสอื่น ๆ ที่ซับซ้อนกว่านี้อาจไม่มีลักษณะเช่นนี้ก็ได้ แถบสีดำด้านซ้ายล่างแสดงความยาวหนึ่ง[[อังสตรอม]] ({{val|e=-10|u=m}} หรือ 100 [[พิโคเมตร|pm]])''
|-
! bgcolor=gray | ประเภท
บรรทัด 32:
{{ความหมายอื่น}}
 
'''อะตอม''' ({{lang-el|άτομον}}; {{lang-en|Atom}}) คือหน่วยพื้นฐานของ[[สสาร]] ประกอบด้วยส่วนของ[[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียส]]ที่หนาแน่นมากอยู่ตรงศูนย์กลาง ล้อมรอบด้วย[[เมฆอิเล็กตรอน|กลุ่มหมอก]]ของ[[อิเล็กตรอน|รักเจมส์คนเดียว 25/03/62เคนคอเล็กตรอน]]ที่มี[[ประจุไฟฟ้า|ประจุลบ]] [[นิวเคลียสอะตอม|นิวเคลียสของอะตอม]]ประกอบด้วย[[โปรตอน]]ที่มีประจุบวกกับ[[นิวตรอน]]ซึ่งเป็นกลางทางไฟฟ้า (ยกเว้นในกรณีของ [[ไฮโดรเจน-1]] ซึ่งเป็น[[นิวไคลด์]]ชนิดเดียวที่เสถียรโดยไม่มีนิวตรอนเลย) อิเล็กตรอนของอะตอมถูกดึงดูดอยู่กับนิวเคลียสด้วย[[แรงแม่เหล็กไฟฟ้า]] ในทำนองเดียวกัน กลุ่มของอะตอมสามารถดึงดูดกันและกันก่อตัวเป็น[[โมเลกุล]]ได้ อะตอมที่มีจำนวนโปรตอนและอิเล็กตรอนเท่ากันจะมีสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้า มิฉะนั้นแล้วมันอาจมีประจุเป็นบวก (เพราะขาดอิเล็กตรอน) หรือลบ (เพราะมีอิเล็กตรอนเกิน) ซึ่งเรียกว่า [[ไอออน]] เราจัดประเภทของอะตอมด้วยจำนวนโปรตอนและนิวตรอนที่อยู่ในนิวเคลียส [[เลขอะตอม|จำนวนโปรตอน]]เป็นตัวบ่งบอกชนิดของ[[ธาตุเคมี]] และ[[เลขนิวตรอน|จำนวนนิวตรอน]]บ่งบอกชนิด[[ไอโซโทป]]ของธาตุนั้น<ref>{{cite book
| editor=Leigh, G. J. | year=1990
| title=International Union of Pure and Applied Chemistry, Commission on the Nomenclature of Inorganic Chemistry, Nomenclature of Organic Chemistry - Recommendations 1990
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อะตอม"