ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Marcus Cyron (คุย | ส่วนร่วม)
Effmedical (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 25:
|}
 
'''จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวี''' ({{lang-fa|شهبانو فرح پهلوی}}) เป็นพระมเหสีอัครมเหสีใน[[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]] แห่ง[[อิหร่าน]] และจักรพรรดินีพระองค์เดียวของอิหร่านในยุคปัจจุบัน หลังจาก[[การปฏิวัติอิหร่าน]] พระองค์ได้ใช้พระชนม์ชีพส่วนใหญ่อยู่ใน[[ปารีส|กรุงปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]]<ref>{{cite news|url=http://news.bbc.co.uk/2/low/middle_east/1393069.stm|title=Shah's daughter laid to rest|publisher=[[BBC News]]|date=2001-06-17|accessdate=2009-11-11}}</ref>
 
== ช่วงต้นพระชนม์ชีพ ==
บรรทัด 35:
 
==การศึกษาและการหมั้นหมาย==
ฟาราห์จักรพรรดินีฟาราห์ได้รับการศึกษาภายในประเทศในโรงเรียนอิตาเลียนที่เตหะราน จากนั้นย้ายไปยังโรงเรียนฌาณส์ เดอ อาร์ก ฝรั่งเศสจนกระทั่งมีพระชนมายุชนพรรษา 16 พรรษา และหลังจากนั้นได้เข้าศึกษาใน[[โรงเรียนราซี]]<ref>[http://www.farahpahlavi.org/sports.html Sports Enthusiast Farah Diba]</ref> พระองค์ทรงเป็นนักกีฬาที่ประสบความสำเร็จในวัยเยาว์และทรกลายเป็นกัปตันทีมบาสเก็ตบอลประจำโรงเรียนของพระองค์ หลังจากทรงจบการศึกษาจากโรงเรียนราซี พระองค์ทรงสนพระทัยพระราชหฤทัยในสถาปัตยกรรมโดยทรงเข้าศึกษาต่อที่[[สถาบันศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์]]ในกรุง[[ปารีส]] [[ประเทศฝรั่งเศส]] ที่ซึ่งทรงเป็นนักศึกษาของ[[อัลแบร์ แบซซัน]]
 
นักศึกษาชาวอิหร่านหลายคนได้รับการศึกษาจากต่างประเทศในช่วงนี้ขึ้นอยู่กับการสนับสนุนของรัฐ ดังนั้นเมื่อ[[ชาห์]]ในฐานะทรงเป็นประมุขแห่งรัฐต้องเสด็จเยือนต่างประเทศอย่างเป็นทางการ พระองค์มักโปรดฯให้นักศึกษาชาวอิหร่านในพื้นที่นั้นเข้าเฝ้า เป็นช่วงของการเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ในปี ค.ศ. 1959 ที่สถานเอกอัครราชทูต[[อิหร่าน]]ประจำกรุงปารีส ซึ่งนางสาวฟาราห์ ดีบาได้เข้าเฝ้าเฝ้าฯ [[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี]]ครั้งแรก
 
หลังจากทรงเสด็จพระราชดำเนินกลับมายังเตหะรานในฤดูร้อน ปีคปี ค.ศ. 1959 พระเจ้าชาห์และนางสาวฟาราห์ ดีบาได้เริ่มมีความสัมพันธ์กันอย่างระมัดระวังเพื่อเตรียมการในส่วนของพระราชธิดาซึ่งก็คือ [[เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี]] ทั้งสองพระองค์ทรงหมั้นอย่างเป็นทางการในวันที่ 23 พฤศจิกายน ค.ศ. 1959
==อภิเษกสมรสและพระโอรสธิดา==
{{กล่องข้อมูล พระยศ
บรรทัด 51:
}}
[[ไฟล์:Imperial Empress Crown.png|thumb|200px|left|[[มงกุฎ]]ของจักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีที่ทรงสวมในวันราชาภิเษกของพระสวามี]]
พระราชพิธีราชาภิเษกสมรสจัดขึ้นเมื่อวันที่ [[21 ธันวาคม]] [[ค.ศ. 1959]] ขณะนั้นทรงมีพระชนมายุชนพรรษา 21 พรรษา ซึ่งเป็นที่สนใจต่อสื่อมวลชนทั่วโลก ฉลองพระองค์ของพระราชินีฟาราห์ถูกออกแบบโดย[[อีฟ แซงต์ โลรองต์]] ซึ่งเป็นนักออกแบบในเครือ[[คริสเตียนดิออร์]]<ref>Empress Farah's gown http://orderofsplendor.blogspot.com/2012/02/wedding-wednesday-empress-farahs-gown.html</ref> และพระองค์ได้ทรง[[เทริด]] [[เพชรนูร์-โอล-อิน]]
 
หลังจากพระราชพิธีที่เอิกเกริกและงานเฉลิมฉลองได้ผ่านพ้นไป พระราชินีพระองค์ใหม่ก็ทรงมีหน้าที่สำคัญที่จะต้องมีพระประสูติการพระราชโอรสถวายพระเจ้าชาห์ให้ได้ กฎมณเฑียรบาลของอิหร่านในขณะนั้นไม่อนุญาตให้เชื้อพระวงศ์ฝ่ายใน (สตรี) ขึ้นครองราชย์ได้ แม้ว้าพระเจ้าชาห์จะทรงอภิเษกสมรสมาก่อนแล้วถึงสองครั้งแต่พระราชินีองค์ก่อน ๆ ก็ให้มีพระประสูติกาลแต่พระธิดาเท่านั้น ครั้งนี้ได้สร้างความกดดันแก่พระราชินีพระองค์ใหม่ พระเจ้าชาห์เองก็ทรงวิตกกังวลในรัชทายาทชายเช่นเดียวกับรัฐบาลของพระองค์<ref name="ReferenceA">Pahlavi, Farah. ‘An Enduring Love: My Life with The Shah. A Memoir’ 2004</ref> นอกจากนี้ยังเป็นที่ทราบอีกว่าการหย่าร้างของพระเจ้าชาห์กับ[[โซรยา อัสฟานดิยารี-บักติยารี|สมเด็จพระราชินีโซรยา]]ซึ่งทรงเป็นพระราชินีพระองค์ก่อนมีเหตุมาจากการที่พระราชินีทรงมีบุตรยาก<ref>Queen of Iran Accepts Divorce As Sacrifice, The New York Times, 15 March 1958, p. 4.</ref> แต่หลังจากที่รอคอยมานานพระราชินีก็มีพระประสูติกาลพระราชโอรสเมื่อวันที่ [[31 ตุลาคม]] [[ค.ศ. 1960]]
บรรทัด 85:
==ในฐานะของสมเด็จพระราชินีและจักรพรรดินี==
[[ไฟล์:Mohammad Pahlavi Coronation.jpg|thumb|250px|right|พระราชวงศ์อิหร่านในพระราชพิธีครองราชสมบัติในปีค.ศ. 1967 จากซ้าย:[[เจ้าหญิงอัชราฟ ปาห์ลาวี|เจ้าหญิงอัชราฟ]], [[เจ้าหญิงชาห์นาซ ปาห์ลาวี|เจ้าหญิงชาห์นาซ]], [[พระเจ้าชาห์ โมฮัมหมัด เรซา ปาห์ลาวี|พระเจ้าชาห์]], [[เจ้าหญิงฟาราห์นาซ ปาห์ลาวี|เจ้าหญิงฟาราห์นาซ]], [[เจ้าชายเรซา ปาห์ลาวี มกุฎราชกุมารแห่งอิหร่าน|มกุฎราชกุมารเรซา]], จักรพรรดินีฟาราห์และ[[เจ้าหญิงชามส์ ปาห์ลาวี|เจ้าหญิงชามส์]]]]
บทบาทของสมเด็จพระราชินีพระองค์ใหม่อาจจะทรงมีในกิจการของรัฐหรือรัฐบาลเป็นสิ่งที่ไม่แน่นอน ภายในราชสำนัก บทบาทในสาธารณะของพระองค์เป็นเรื่องรองมาจากเรื่งเรื่องที่เร่งด่วนมากคือการสืบราชสันตติวงศ์ที่มั่นคง อย่างไรก็ตาม เมื่อองค์มกุฎราชกุมารประสูติ สมเด็จพระราชินีพระองค์ใหม่ทรงเป็นอิสระในการอุทิศเวลาของพระองค์ในพระกรณียกิจอื่นและการแสวงหาความรู้อย่างเป็นทางการ
[[ไฟล์:Pahlavi Coronation.png|thumbnail|left|พระเจ้าชาห์ทรงสวมมงกุฎตำแหน่งจักรพรรดินีแก่พระนางฟาราห์ ปาห์ลาวีในพระราชพิธีครองราชสมบัติในปีค.ศ. 1967]]
เหมือนกับพระมเหสีพระองค์อื่นๆ พระราชินีพระองค์ใหม่ทรงเริ่มจำกัดพระองค์เองให้เป็นบทบาททางพิธีการ พระองค์ทรงใช้เวลาส่วนใหญ่ในการเข้าร่วมการเปิดสถาบันการศึกษาและการแพทย์ต่างๆโดยไม่ทรงเข้าไปก้าวก่ายเกินเลยในประเด็นขัดแย้ง อย่างไรก็ตามในขณะที่เวลาผ่านไปสถานะนี้ได้เปลี่ยนแปลง สมเด็จพระราชินีทรงมีความสนพระทัยอย่างมากในกิจการของรัฐบาลที่ซึ่งเกี่ยวกับปัญหาและเป็นเหตุให้พระองค์ทรงสนพระทัยพระราชหฤทัย พระองค์ทรงใช้ความใกล้ชิดและอิทธิพลของพระองค์ต่อพระเจ้าชาห์ ผู้เป็นพระสวามี เพื่อรับประกันการระดมเงินทุนและให้ความสนใจมุ่งเน้นไปที่สาเหตุโดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ของสิทธิสตรีและการพัฒนาทางวัฒนธรรม
 
ในที่สุดสมเด็จพระราชินีทรงเข้ามารับผิดชอบในพนักงาน 40 คนที่จัดการคำขอความช่วยเหลือต่างๆในช่วงปัญหา พระองค์ทรงกลายเป็นหนึ่งในบุคคลที่มองเห็นได้อย่างมากที่สุดในรัฐบาลของจักรวรรดิและทรงเป็นผู้อุปถัมภ์รับองค์การการศึกษาจำนวน 24 องค์การการศึกษาไว้ในพระราชินูปถัมภ์, การแพทย์และวัฒนธรรม บทบาททางมนุษยธรรมของพระองค์ทำให้พระองค์ทรงได้รับความนิยมในช่วงหนึ่ง โดยเฉพาะในช่วงต้นคริสต์ทศวรรษที่ 1970<ref name="time.com">{{cite news|url=http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,945049-2,00.html| work=Time|title=The World: Farah: The Working Empress|date=4 November 1974|accessdate=2 May 2010}}</ref> ในช่วงนี้พระองค์เสด็จประพาสภายในประเทศอิหร่าน ทรงเสด็จพระราชดำเนินไปทรงเยี่ยมพสกนิกรในพื้นที่ห่างไกลบางส่วนและทรงพบปะกับพลเมืองในท้องถิ่น
 
รัฐบาลกลางในกรุงเตหะรานตระหนักถึงความนิยมของประชาชนต่อพระองค์ จึงทำให้ในปีค.ศ. 1967 พระเจ้าชาห์ได้จัดพระราชพิธีบรมราชาภิเษกของพระองค์เองขึ้น และได้สถาปนาพระราชินีขึ้นเป็นจักรพรรดินี (ชาห์บานู, شاهبانو) ซึ่งเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์อิหร่านสมัยใหม่และยังทรงสถาปนาให้เป็น "จักรพรรดินีนาถ" ในกรณีที่พระองค์สวรรคตหรือไม่สามารถปกครองประเทศได้ก่อนที่มกุฎราชกุมารจะเจริญพระชันษาชนมายุครบ 21 ชันษาพรรษา ซึ่งถือว่าเป็นเรื่องที่แปลกใหม่สำหรับสถาบันพระมหากษัตริย์ในตะวันออกกลาง<ref name="time.com"/>
 
ระยะการดำรงพระอิสริยยศของพระนางฟาราห์ในฐานะจักรพรรดินีโดยปราศจากข้อโต้แย้ง สาเหตุที่พระองค์ทรงปกป้องและบทบาทของพระองค์ในรัฐบาลบางครั้งนั้นได้เข้ามาขัดแย้งกับคนบางกลุ่มโดยเฉพาะอย่างยิ่งฝ่ายอนุรักษนิยมทางศาสนา ความไม่พอใจของคนกลุ่มนี้ที่พุ่งเป้าหมายไปที่รัฐบาลปาห์ลาวีทั้งหมดและไม่ใช่เพียงแค่องค์จักรพรรดินีเพียงพระองค์เดียวเท่านั้น
บรรทัด 100:
[[ไฟล์:Jashn honar.jpg|thumb|จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีขณะเสด็จเยี่ยมนักแสดงใน[[เทศกาลศิลปะชีราซ]]]]
[[ไฟล์:Empress Farah Office.jpg|thumb|320px|left|จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีขณะทรงงานในกรุงเตหะราน ในช่วงคริสต์ทศวรรษที่ 1970]]
ในช่วงต้นรัชกาล องค์จักรพรรดินีทรงสนพระทัยพระราชหฤทัยและมีบทบาทส่งเสริมศิลปวัฒนธรรมในอิหร่าน โดยผ่านพระราชินูปถัมภ์ของพระนางพระองค์ หลายองค์กรถูกจัดตั้งขึ้นและส่งเสริมเพื่อทำตามพระราชประสงค์ของพระองค์ที่จะทรงนำสิลปวัฒนธรรมอิหร่านร่วมสมัยและทรงให้ความสำคัญทั้งในอิหร่านและโลกตะวันตก
 
นอกเหนือไปจากความพยายามของพระนางพระองค์เอง องค์จักรพรรดินีทรงพยายามที่จะหาทางบรรลุเป้าหมายด้วยความช่วยเหลือต่างๆของมูลนิธิและที่ปรึกษา กระทรวงของพระองค์สนับสนุนการแสดงออกทางศิลปะในหลายๆรูปแบบ รวมทั้งศิลปะแบบดั้งเดิมของอิหร่าน(เช่น การทอผ้า, การร้องเพลงและการขับขานบทกวี)เช่นเดียวกับการละครแบบตะวันตก พระองค์ทรงได้รับการยอมรับมากที่สุดในการที่ทรงอุปถัมภ์ศิลปะการแสดงใน[[เทศกาลศิลปะชีราซ]] เหตุการณ์นี้มีความขัดแย้งในบางครั้งโดยเทศกาลนี้ถูกจัดขึ้นเป็นประจำทุกปีตั้งแต่ค.ศ. 1967 จนถึงค.ศ. 1977 และให้ความสำคัญกับการแสดงสดโดยทั้งจากศิลปินอิหร่านและตะวันตก<ref>http://www.mitpressjournals.org/doi/pdf/10.1162/leon.2007.40.1.20</ref>
 
อย่างไรก็ตามในเวลาส่วนใหญ่ของพระองค์ ทรงมักเสด็จพระราชดำเนินไปในการสร้างพิพิธภัณฑ์และอาคารเก็บวัตถุสะสมต่างๆ
 
===ศิลปะโบราณ===
บรรทัด 151:
==พระชนม์ชีพระหว่างลี้ภัย==
[[ไฟล์:Empress Farah in 2011.jpg|thumb|จักรพรรดินีฟาราห์ ปาห์ลาวีในพระราชพิธีอภิเษกสมรสระหว่าง[[เจ้าชายอาลแบร์ที่ 2 องค์อธิปัตย์แห่งโมนาโก]]กับ[[เจ้าหญิงชาร์ลีนแห่งโมนาโก|ชาร์ลีน วิตต์สท็อก]]ในปีค.ศ. 2011]]
[[ไฟล์:Farah Pahlavi on Poletik.jpg|left|thumb|จักรพรรดินีฟาราห์ขณะทรงให้สัมภาษณ์แก่รายการ [[Poletik]] ในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2014|link=Special:FilePath/Farah_Pahlavi_on_Poletik.jpg]]
หลังจากการสวรรคตของพระเจ้าชาห์ จักรพรรดินีผู้ทรงลี้ภัยยังคงประทับอยู่ในอียิปต์เป็นเวลาเกือบสองปี ประธานาธิบดี[[อันวัร อัสซาดาต]]ได้ถวาย[[พระราชวังคุบเบห์]]ในกรุงไคโรแก่พระองค์และพระราชวงศ์ ไม่กี่เดือนต่อมาหลังจากการลอบสังหารประธานาธิบดีอันวัร อัสซาดาตในเดือนตุลาคม ค.ศ. 1981 องค์จักรพรรดินีพร้อมพระราชวงศ์ได้เสด็จออกจากอียิปต์ ประธานาธิบดี[[โรนัลด์ เรแกน]]เมื่อทราบได้ทูลเชิญให้เสด็จมาประทับที่สหรัฐอเมริกา<ref>Pahlavi, Farah. "An Enduring Love: My life with Shah. A Memoir" 2004</ref>