ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Supanut Arunoprayote (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ไฟล์:ThapAncient KhwanCity Ruen Thai.jpg|thumb|250300px|เรือนหมู่ไทยภาคกลาง ใน[[พระตำหนักทับขวัญเมืองโบราณ]]]]
[[ไฟล์:Ancient City Floating Market (I).jpg|thumb|300px|เรือนไทยริมน้ำ ใน[[เมืองโบราณ]]]]
[[ไฟล์:Ho trai Wat Apson Sawan (II).jpg|thumb|300px|[[หอไตร]] วัดอัปสรสวรรค์วรวิหาร]]
 
'''สถาปัตยกรรมไทย''' หมายถึงศิลปะการก่อสร้างของไทย อันได้แก่ วัด อาคาร บ้านเรือน [[โบสถ์]] [[วิหาร]] [[วัง]] [[สถูป]] และสิ่งก่อสร้างอื่น ๆ มีลักษณะแตกต่างกันไปตาม[[ภูมิศาสตร์]] และคตินิยม สถาปัตยกรรมไทย มีมานานตั้งแต่ที่คนไทยเริ่มตั้งถิ่นฐาน วัได้พัฒนาและปรับปรุงรูปแบบสถาปัตยกรรมอันเป็นสิ่งจำเป็นต่อการดำรงชีวิต เพื่อให้เหมาะสมกับสภาพอากาศ สภาพภูมิประเทศ โดยเพิ่มเติมใส่เอกลักษณ์ความเป็นไทยเข้าไป ซึ่งนับเป็นการแสดงออกความสามารถของบรรพบุรุษไทย สามารถแบ่งยุคได้เป็น 2 รูปแบบใหญ่ๆ คือ '''สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์''' และ '''สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์'''
 
เส้น 12 ⟶ 15:
 
== สถาปัตยกรรมไทยสมัยประวัติศาสตร์ ==
[[ไฟล์:Wat Phra Prang Sam Yod-pano (I).jpg|thumb|200300px|[[พระปรางค์สามยอด]] สถาปัตยกรรมไทยยุคลพบุรี]]
[[ไฟล์:P1024054.JPG|thumb|200250px|[[พระบรมธาตุไชยา]] สถาปัตยกรรมยุคศรีวิชัย]]
สามารถแบ่งได้เป็นยุคๆ ได้ดังนี้
* ยุคทวาราวดี (พุทธศตวรรษที่ 12 - 16)
เส้น 59 ⟶ 62:
 
=== ยุคอยุธยา (พุทธศตวรรษที่ 20 - 23) ===
[[ไฟล์:วิมงคลWihan Phra Mongkon Bopit Ayutthaya.JPG|thumb|200250px|[[วิหารพระมงคลบพิตร]] อยุธยา]]
เอกลักษณ์ของสถาปัตยกรรมในยุคนี้ คือการออกแบบให้แสดงถึงความยิ่งใหญ่ ร่ำรวย สถาปัตยกรรมจึงมีขนาดและรูปร่างสูงใหญ่ ตกแต่งด้วยการแกะสลักปิดทอง
โบสถ์วิหารในกรุงศรีอยุธยาไม่นิยมสร้างให้มีชายคายื่นออกมาจากหัวเสามากนัก ส่วนใหญ่มีบัวหัวเสาเป็นรูปบัวตูม และนิยมเจาะผนังอาคารให้เป็นลูกกรงเล็กๆแทนช่องหน้าต่าง
เส้น 68 ⟶ 71:
== สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์ ==
{{บทความหลัก|สถาปัตยกรรมสมัยรัตนโกสินทร์}}
[[ไฟล์:AnantasamakomAnanta Samakhom (I).jpg|thumb|250px|[[พระที่นั่งอนันตสมาคม]] มีรูปแบบเป็นสถาปัตยกรรมตะวันตก]]
ในสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] นับเป็นยุคทองแห่ง[[ศิลปะจีน]] มีการใช้การก่ออิฐถือปูนและใช้ลวดลายดินเผาเคลือบประดับหน้าบันแทนแบบเดิม