ผลต่างระหว่างรุ่นของ "อหิงสา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Thomson Walt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 1:
'''อหิงสา''' หรือ '''อหึงสา''' ({{lang-sa|अहिंसा}}) หมายถึง การไม่เบียดเบียน, การเว้นจากการทำร้าย คำว่า "อหิงสา" ยังหมายถึง การไม่ใช้ความรุนแรง และใน[[ศาสนาแบบอินเดีย]]หลายศาสนา มโนทัศน์ดังกล่าวใช้กับสิ่งมีชีวิตทุกชนิดรวมทั้งสัตว์<ref name=historyindia2011>Bajpai, Shiva (2011). ''[http://www.himalayanacademy.com/media/books/the-history-of-hindu-india/the-history-of-hindu-india.pdf The History of India - From Ancient to Modern Times]'', Himalayan Academy Publications (Hawaii, USA), ISBN 978-1-934145-38-8; see pages 8, 98</ref>
 
อหิงสาเป็นคุณธรรมหลักอย่างหนึ่ง<ref name=evpc/>และเป็นความเชื่อสำคัญของศาสนาแบบอินเดียที่สำคัญ ([[ศาสนาฮินดู]] [[ศาสนาพุทธ]]และ[[ศาสนาเชน]]) อหิงสาเป็นมโนทัศน์หลายมิติ<ref name=arapura>John Arapura in K. R. Sundararajan and Bithika Mukerji Ed. (1997), Hindu spirituality: Postclassical and modern, ISBN 978-8120819375; see Chapter 20, pages 392-417</ref> ได้รับบันดาลใจจากข้อตั้งที่ว่าสิ่งมีชีวิตทั้งปวงล้วนมีเสี้ยวหนึ่งของพลังงานวิญญาณเทวะ การทำร้ายสิ่งอื่นจึงเป็นการทำร้ายตนเอง อหิงสายังเกี่ยวข้องกับแนวคิดที่ว่า ความรุนแรงใด ๆ มีผลกรรมสะท้อนกลับมา ขณะที่ปราชญ์ฮินดูสมัยโบราณบุกเบิกและพัฒนาหลักการอหิงสา มโนทัศน์ดังกล่าวกลายมามีสถานะพิเศษในปรัชญาจริยธรรมของศาสนาเชน<ref name=evpc>Stephen H. Phillips & other authors (2008), in Encyclopedia of Violence, Peace, & Conflict (Second Edition), ISBN 978-0123739858, Elsevier Science, Pages 1347–1356, 701-849, 1867</ref><ref name=chapple1990>Chapple, C. (1990). Nonviolence to animals, earth and self in Asian Traditions (see Chapter 1). State University of New York Press (1993)</ref> [[มหาตมา คานธี]]ขึ้นชื่อมากที่สุดว่าเป็นผู้เชื่อในหลักอหิงสาอย่างแรงกล้าอหิงสาเหมือนคำใดในศาสนสพุทธ
 
== อ้างอิง ==
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/อหิงสา"