ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ศาสนาฮินดู"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 9:
== ประวัติ ==
{{บทความหลัก|ประวัติศาสนาฮินดู}}
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู เป็นศาสนาที่เก่าแก่ที่สุดในโลก ในตอนแรกเริ่มเรียกตัวเองว่า “[[พราหมณ์]]" ต่อมาศาสนาได้เสื่อมความนิยมลงระยะหนึ่งเนื่องจากอิทธิพลของ[[ศาสนาพุทธ]] จนมาในช่วงพุทธศตวรรษที่ 13 [[ศังกราจารย์]]ได้ปฏิรูปศาสนาโดยแต่ง[[คัมภีร์]][[เทพเจ้าฮินดู|เทพเจ้า]]ลดความสำคัญของ[[ศาสนาพุทธ]] และนำหลักปฏิบัติรวมทั้งหลักธรรมของ[[ศาสนาพุทธ]][[มหายาน]]บางส่วนมาใช้และฟื้นฟูปรับปรุงศาสนาพราหมณ์เป็นให้เป็นศาสนาฮินดูเนื่องจากหลักธรรมส่วนใหญ่ของ[[ศาสนาพุทธ]]ได้ประยุกต์มาจากศาสนาฮินดูเมื่อครั้งยังเป็นศาสนาพราหมณ์โดยเริ่มจากนิกาย[[เถรวาท]]เมื่อครั้งพุทธกาล -จนถึงนิกาย[[มหายาน]] - [[วัชรยาน]] เมื่อ โดยคำว่า “ฮินดู” เป็นคำที่ใช้เรียกชาวอารยันที่อพยพเข้าไปตั้งถิ่นฐานในลุ่ม[[แม่น้ำสินธุ]] และเป็นคำที่ใช้เรียกลูกผสมของ[[ชาวอารยัน]]กับชาวพื้นเมืองใน[[ชมพูทวีป]] และชนพื้นเมืองนี้ได้พัฒนาศาสนาพราหมณ์โดยการเพิ่มเติมเทพเจ้าท้องถิ่นดั้งเดิมลงไป เนื่องจากเวลานั้นสังคมอินเดีย แตกแยกอย่างมากเนื่องจากอิทธิพลของ[[ศาสนาพุทธ|พุทธศาสนา]]ใน[[ประเทศอินเดีย]]ที่มีลักษณะเป็นกึ่ง[[พหุเทวนิยม]] คือนิยมนับถือ[[เทวดา]] ทำให้ทางตอนเหนือนับถือ[[พระศิวะ]]ซึ่งเป็นเทพแห่ง[[เทือกเขาหิมาลัย|ภูเขาหิมาลัย]] ทางตอนใต้ชาวประมงนับถือ[[พระวิษณุ|วิษณุ]]ซึ่งเป็นเทพที่ให้ฝนและพายุ ชาวป่านับถือพระนิรุทธ และตอนกลางนับถือ[[พระพิฆเนศ]] [[ชาวอินเดีย|คนอินเดีย]]เวลานั้นเริ่มไม่นับถือศาสนาพราหมณ์เป็นจำนวนมากขึ้น เมื่อต้องการรวมชาติ เมื่อครั้งขับไล่ราชวงศ์โมกุลของ[[ศาสนาอิสลาม|อิสลาม]]ที่เข้ามายึดครองและสั่งเข่นฆ่า[[พระสงฆ์]][[พระไตรปิฎก|คัมภีร์]]และวัดใน[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]]จนแทบสูญสิ้นไปจาก[[ประเทศอินเดีย|อินเดีย]] จึงรวม[[เทพเจ้าฮินดู|เทพเจ้า]]แต่ละท้องถิ่นต่างๆมารวมเป็นหนึ่งเดียวกันกับศาสนาพราหมณ์ แล้วเรียกศาสนาของใหม่นี้ว่า “ศาสนาฮินดู” เพราะฉะนั้นศาสนาพราหมณ์จึงมีอีก ชื่อในศาสนาใหม่ว่า “ฮินดู” จนถึงปัจจุบันนี้
 
[[ศาสนาพุทธ|พระพุทธศาสนา]]ก็เกิดขึ้นท่ามกลางสังคมพราหมณ์ แม้แต่[[พระพุทธเจ้า]]และพุทธสาวกสมัยแรก ๆ ก็เคยนับถือศาสนาพราหมณ์หรือเคยเกี่ยวข้องกับวรรณะพราหมณ์มาก่อน และใน[[ชาดก|นิทานชาดก]] และเรื่องราวเกี่ยวกับ[[ศาสนาพุทธ]]และ[[พระพุทธเจ้า]] ก็มักจะมีพราหมณ์เข้ามาเกี่ยวข้อง จึงกล่าวได้ว่า [[ศาสนาพุทธ]]และพราหมณ์ จึงมีอิทธิพลต่อกันและกัน