ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มิดิ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
เคาะวรรค
Tris T7 (คุย | ส่วนร่วม)
→‎General MIDI: เคาะวรรค
บรรทัด 13:
หมายถึงเสียงเครื่องดนตรีใด, ทำให้ผู้ผลิตแต่ละบริษัทใช้รูปแบบการตั้งค่าคำสั่งที่แตกต่างกันมาก
หากนำมาใช้ร่วมกันจะทำให้เสียงผิดเพี้ยน, ทำให้เมื่อนักดนตรีเลือกใช้เครื่องดนตรี
หรืออุปกรณ์ควบคุมยี่ห้อใดยี่ห้อหนึ่งแล้ว จะไม่สามารถนำเครื่องดนตรีและอุปกรณ์ควบคุมยี่ห้ออื่นๆอื่น ๆ
มาใช้งานร่วมกันผ่านระบบ MIDI ได้, จนสร้างความอึดอัดใจให้กับนักดนตรีทั่ว ๆ ไป เป็นอย่างมาก
 
บรรทัด 44:
# Sound Effects
 
ในแต่ละกลุ่มยังแบ่งย่อยๆย่อย ๆ ไปอีกกลุ่มละ 8 ชนิด เช่น ในกลุ่มของ[[เปียโน]] ก็จะมีเสียงของเปียโนชนิดต่างๆต่าง ๆ อีก 8 ชนิด
หรือในกลุ่มของ Brass ก็ประกอบด้วย [[ทรัมเป็ต]], [[ทรอมโบน]] และเครื่องเป่าอื่นๆอื่น ๆ อีกรวม 8 ชนิด เป็นต้น
 
เมื่อมาตรฐาน GM ออกมา ก็ได้รับการยอมรับอย่างแพร่หลาย จนในที่สุดเครื่องดนตรีและอุปกรณ์ควบคุมต่างๆ
บรรทัด 54:
 
== GS ==
มาตรฐาน GM ถูกใช้งานกันมานานด้วยความเรียบร้อยดี อยู่ต่อมาเมื่อบทเพลงต่างๆต่าง ๆ เริ่มต้องการเสียงที่วิจิตรพิสดารมากขึ้น บริษัทผู้ผลิตเครื่องดนตรีชั้นนำของโลกบริษัทหนึ่งที่ชื่อว่า ROLAND CORPERATION เริ่มรู้สึกว่าเสียงของเครื่องดนตรีชนิดต่างๆต่าง ๆ ที่มีอยู่ ในมาตรฐานเดิมนั้นไม่พอใช้เสียแล้ว จึงได้ทำการเพิ่มเติมเสียงของเครื่องดนตรีบางชนิดเข้าไปกับมาตรฐาน GM อีก โดยใช้ชื่อมาตรฐาน อันใหม่นี้ว่า มาตรฐาน GS ซึ่งยังคงมีกลุ่มเสียงทั้งหมด 16 กลุ่มเท่าเดิม แต่ในแต่ละกลุ่มจะมีเสียงเพิ่มเข้ามาอีก จากเดิม 128 เสียง เพิ่มมาเป็น 189 เสียง
 
จาก ความแตกต่างของ GM และ GS นี่เองทำให้เกิดปัญหาเล็กๆเล็ก ๆ ตามมา นั่นก็คือหากใครมีเพลงรุ่นใหม่ๆที่สร้างขึ้นภายใต้มาตรฐาน GS แล้ว เมื่อนำไปเล่นกับเครื่องดนตรีหรือคอมพิวเตอร์ที่ใช้มาตรฐาน GM อยู่อาจจะให้เสียงไม่ครบหรือไม่ถูกต้องตาม ต้นฉบับก็ได้ แต่ถ้าหากเพลงนั้นถูกสร้างขึ้นภายใต้มาตรฐาน GM เมื่อนำไปเล่นบนเครื่องที่เป็นมาตรฐาน GS ก็ยังคงให้เสียงได้ครบถ้วนอยู่เหมือนเดิม เพราะว่าในมาตรฐาน GS ยังคงมีเสียงจากมาตรฐาน GM อยู่ครบนั่นเอง
 
หัน มาดูทางด้านคอมพิวเตอร์ของเรากันบ้าง ดูเหมือนว่าบริษัทผู้ผลิตซาวด์การ์ดที่ใช้กับคอมพิวเตอร์จะไม่ค่อยได้ติดตาม ข่าวคราว ในวงการดนตรีสักเท่าไรนัก หรืออาจเป็นเพราะว่าไม่ได้เตรียมตัวเตรียมใจเอาไว้ก่อนว่าจะมีใครเอา ซาวด์การ์ดมาใช้เล่นเพลง เล่นดนตรีกันทั่วบ้านทั่วเมืองแบบนี้ก็ได้ เลยเป็นผลทำให้ซาวด์การ์ดจำนวนมากยังคงใช้ชิพกำเนิดเสียงเครื่องดนตรีตาม มาตรฐาน GM กันอยู่ สังเกตได้จากราคาที่ค่อนข้างถูกและมักจะชอบแถมมากับคอมพิวเตอร์ที่สั่ง ประกอบสำเร็จจากร้านค้า
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มิดิ"