ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การว่างงานในประเทศไทย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Fishix (คุย | ส่วนร่วม)
Edit out vandalism sentence
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Horus (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
[[ประเทศไทย]]มีอัตรา'''[[การว่างงาน]]'''สูงต่ำมาก โดยอยู่ที่ร้อยละ 40.4 แสนคน9 ในปี 25612557<ref name="TNSO">TNSO The National Statistical Office of Thailand. "over half of all Thailand’s workers are in vulnerable employment (defined as the sum of own-account work and unpaid family work) and more than 60 per cent are informally employed, with no access to any social security mechanisms." Thailand. A labour market profile, International Labour Organization, 2013.</ref> แนวโน้มการว่างงานในประเทศไทยไม่เปลี่ยนไปมากวัฏจักรธุรกิจตามทฤษฎี[[เศรษฐศาสตร์]]ทั่วไป เพราะโครงสร้างสังคมของไทยทำให้ผู้ว่างงานหางานทำใหม่ได้โดยเร็ว ส่งผลให้คนไทยวัยทำงานกว่าครึ่งประเทศประกอบอาชีพที่ไม่มั่นคง (งานรับจ้างทั่วไปและการช่วยงานครอบครัวโดยไม่มีรายได้ตอบแทน)<ref name="TNSO"/> คนวัยทำงานกว่าร้อยละ 60 ประกอบอาชีพอย่างไม่เป็นทางการ ทำให้ผู้ที่มีงานทำเข้าไม่ถึงการให้บริการประกันสังคมและไม่ได้รับการคุ้มครองเท่าที่กฎหมายกำหนดไว้<ref name="TNSO"/> อัตราการว่างงานที่ต่ำนี้ทำให้ตัวเลขดังกล่าวนำมาใช้วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเศรษฐศาสตร์ของประเทศไม่ได้ เพราะปัญหาที่แท้จริงอยู่ที่การจ้างงานต่ำระดับ
 
สำนักข่าว[[บลูมเบิร์ก]]รายงานว่าอัตราการว่างงานในไทยอยู่ที่ร้อยละ 0.56 ในปี 2558<ref>http://www.bloomberg.com/news/articles/2015-02-02/thailand-s-unemployment-rate-is-a-ridiculously-low-0-6-here-s-why</ref> ซึ่งสวนกระแสโลกที่เศรษฐกิจได้รับผลกระทบจาก[[ราคาน้ำมันดิบ]]ที่ต่ำลง [[วิกฤตหนี้สาธารณะยุโรป|วิกฤตเศรษฐกิจในยุโรป]] และการชะลอตัวของ[[เศรษฐกิจจีน]] ข้อเท็จจริงฟังได้ว่าอัตราการว่างงานในไทยที่ต่ำนี้เกิดได้จากหลายสาเหตุ อนึ่ง ประเทศไทยมีระบบ[[ประกันสังคม]]ที่ไม่เข้มแข็งและน้อยคนจะสามารถเข้าถึงการประกันการว่างงาน ทำให้ผู้ทำงานไม่สามารถจะทิ้งระยะห่างหลังจากตกงานได้นาน ประเทศไทยยังเป็น[[เกษตรกรรมในประเทศไทย|สังคมเกษตรกรรม]] ทำให้ผู้ที่ตกงานในเขตเมืองสามารถเลือกกลับไปทำไร่ทำนาได้โดยง่าย โดยผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมนี้มีมากถึงร้อยละ 40 ของแรงงาน{{อ้างอิง}} นอกจากนี้ ประเทศไทยมี[[อัตราการเจริญพันธุ์]]ที่ต่ำมาก{{อ้างอิง}} ทำให้มีคนรุ่นใหม่เข้ามาเริ่มทำให้ไม่มากในแต่ละปี แต่มีผู้เกษียณอายุมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลให้มีแรงงานไม่เพียงพอและอัตราการว่างงานต่ำลงโดยธรรมดา
 
ในปี 2561 สำนักข่าวบลูมเบิร์กจัดให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีดัชนีความทุกข์ยาก (misery index) ต่ำสุดในโลกเป็นปีที่ 4 ติดต่อกัน โดยนำตัวเลขอัตราว่างงาน 1.3% ของไทยในปี 2560 ที่[[ธนาคารแห่งประเทศไทย]]รายงานไปพิจารณา<ref>[https://www.dailynews.co.th/politics/627901 นายกปลื้มสื่อนอกยกไทยมีความสุขที่สุดในโลก4ปีซ้อน]</ref>
 
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2561 ผู้ประกันตนว่างงาน 165,310 คน สูงสุดในรอบ 4 ปีครึ่ง ตั้งแต่ มกราคม พ.ศ. 2557 <ref>https://prachatai.com/journal/2018/07/77975</ref> อย่างไรก็ตามในวันที่ 8 มกราคม พ.ศ. 2562 รัฐบาลประสบความสำเร็จในการพัฒนาสิทธิมนุษยชนด้านการประมง โดยคณะกรรมาธิการยุโรป ได้ให้ ใบเขียว กับประเทศไทย เพื่อยืนยันว่าประเทศไทยเป็นประเทศที่ให้ความร่วมมือในการต่อต้านการทำประมงที่ผิดกฎหมาย ขาดการรายงาน และไร้การควบคุม<ref>[https://www.posttoday.com/economy/576331 ไทยเฮ! อียูปลดใบเหลืองแล้ว หลังไทยแก้ปัญหาประมงตามหลักสากล]</ref>เบื้องหลังการประสบความสำเร็จในครั้งนี้คาดว่าเป็นสาเหตุหนึ่งในการว่างงานในส่วนของภาคการทำประมงเนื่องจากกฎระเบียบที่เพิ่มขึ้นจำนวนมาก
 
== การจ้างงานต่ำระดับ ==