ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปอด"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
PlyrStar93 (คุย | ส่วนร่วม)
ย้อนการแก้ไขของ 183.88.34.251 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย PlyrStar93
ป้ายระบุ: ย้อนรวดเดียว
บรรทัด 1:
{{ต้องการอ้างอิง}}
{{Infobox anatomy
| Name = ปอด
| Latin = pulmo
| Greek =
| GraySubject = 240
| GrayPage = 1093-1096
| Image = Lungs_diagram_detailed.svg
| Caption = ภาพแสดงลักษณะของปอด
| Width =
| Image2 =
| Caption2 =
| ImageMap =
| MapCaption =
| Precursor =
| System = [[ระบบหายใจ]]
| Artery =
| Vein =
| Nerve =
| Lymph =
| MeshName = Lung
| MeshNumber = A04.411
| Code =
| Dorlands =
| DorlandsID =
}}
 
 
''ปอด
''' ({{lang-en|lung}}) เป็นอวัยวะหนึ่งในร่างกายที่มีความสำคัญอย่างยิ่งใน[[สัตว์มีกระดูกสันหลัง]] ใช้ใน[[การหายใจ]] หน้าที่หลักของปอดก็คือ การแลกเปลี่ยนก๊าซ[[ออกซิเจน]]จากสิ่งแวดล้อมเข้าสู่ระบบเลือดในร่างกาย และแลกเปลี่ยนเอาก๊าซ[[คาร์บอนไดออกไซด์]]ออกจากระบบ[[เลือด]]ออกสู่สิ่งแวดล้อม ทำงานโดยการประกอบกันขึ้นของ[[เซลล์]]เป็นจำนวนล้านเซลล์ ซึ่งเซลล์ที่ว่านี้มีลักษณะเล็กและบางเรียงตัวประกอบกันเป็นถุงเหมือน[[ลูกโป่ง]] ซึ่งในถุงลูกโป่งนี้เองที่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซต่าง ๆ เกิดขึ้น นอกจากการทำงานแลกเปลี่ยนก๊าซแล้ว ปอดยังทำหน้าที่อื่น ๆ อีก
 
คำว่าปอดในภาษาอังกฤษ ใช้คำว่า lung ในทางการแพทย์สิ่งที่เกี่ยวกับปอดใช้คำว่า Pulmonary นำหน้าสิ่งนั้น ๆ ในมนุษย์นั้นมีปอดอยู่ใน[[ทรวงอก]] มีสองข้าง คือขวาและซ้าย ปอดมีลักษณะนิ่ม ร่างกายจึงมี[[กระดูกซี่โครง]]คอยปกป้องปอดไว้อีกชั้นหนึ่ง ปอดแต่ละข้างจะมีถุงบาง ๆ 2 ชั้นหุ้มอยู่ เรียกว่า '''เยื่อหุ้มปอด''' เยื่อหุ้มปอดที่เป็นถุงบาง ๆ 2 ชั้นนี้เรียกว่า เยื่อหุ้มปอดชั้นในและ เยื่อหุ้มปอดชั้นนอก เยื่อหุ้มปอดชั้นในจะแนบติดไปกับผิวของปอด ส่วนเยื่อหุ้มปอดชั้นนอกจะแนบติดไปกับช่องทรวงอก ระหว่างเยื่อหุ้มปอด 2 ชั้นบางๆนี้จะมีช่องว่าง เรียกว่า ช่องเยื่อหุ้มปอด ในช่องเยื่อหุ้มปอดจะมีของเหลวคอยหล่อลื่นอยู่ เรียกว่า ของเหลวเยื่อหุ้มปอด ของเหลวนี้จะช่วยให้เยื่อหุ้มปอดแต่ละชั้นสไลด์ไปมาระหว่างกันได้โดยไม่เสียดสีกัน และของเหลวเยื่อหุ้มปอดก็ยังช่วยยึดเยื่อหุ้มปอดทั้งสองชั้นไว้ไม่ให้แยกจากกันโดยง่าย ปอดข้างซ้ายนั้นมีขนาดเล็กกว่าปอดข้างขวา เพราะปอดข้างซ้ายต้องเว้นที่เอาไว้ให้หัวใจอยู่ในทรวงอกด้วยกันด้วย
 
== วิธีการทำงาน ==
การแลกเปลี่ยนก๊าซและการใช้ออกซิเจน เมื่อเราหายใจเข้า อากาศภายนอกเข้าสู่อวัยวะ ของระบบหายใจไปยังถุงลมในปอดที่ผนังของถุงลมมีหลอดเลือดฝอยติดอยู่ ดังนั้นเมื่ออากาศผ่านเข้ามาถึงถุงลมจึงมีโอกาสใกล้ชิดกับเม็ดเลือดแดงซึ่งไหลมาพร้อมกับเลือดภายในหลอดเลือดฝอยมากขึ้น จากนั้นออกชิเจนในอากาศซึ่งมีประมาณมากกว่าประมาณออกซิเจนในเลือด ก็จะซึมผ่านผนังถุงลมและผนังหลอดเลือดฝอยนี้เข้าสู่[[เม็ดเลือดแดง]] และพร้อมกันนั้น คาร์บอนไดออกไชด์ที่เหลือจากกระบวนการ[[เมทาบอลิซึม]]ของเซลล์ต่าง ๆ ในร่างกาย และส่งมากับเม็ดเลือดแดงก็จะออกจากเม็ดเลือดผ่านผนังออกมาสู่[[ถุงลม]] ปกติในอากาศมีออกชิเจนร้อยละ 20 แต่อากาศที่เราหายใจมีออกซิเจนร้อยละ 13
 
== กำจัดของเสียทางปอด ==
การกำจัดของเสียทางปอด กำจัดออกมาในรูปของน้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นผลที่ได้จากกระบวนการหายใจ โดยน้ำและก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์แพร่ออกจากเซลล์เข้าสู่หลอดเลือดและเลือดจะทำหน้าที่ลำเลียงไปยังปอด แล้วแพร่เข้าสู่ถุงลมที่ปอด หลังจากนั้นจึงเคลื่อนผ่านหลอดลมแล้วออกจากร่างกายทางจมูก ซึ่งเรียกว่ากระบวนการ [Metabolism
 
== หน้าที่ของปอด ==
* หน้าที่เกี่ยวกับ[[การหายใจ]] แลกเปลี่ยนก๊าซออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์
* หน้าที่อื่น ๆ นอกจากการหายใจ
** การควบคุมและขับสารต่าง ๆ เช่น [[ยา]], [[แอลกอฮอล์]] ออกจากระบบเลือด
** การควบคุมสมดุลของความเป็นกรด-ด่างในเลือด ซึ่งมีความสำคัญต่อประสิทธิภาพการทำงานของ[[เอนไซม์]] และอวัยวะต่าง ๆ
** กรอง[[ลิ่มเลือด]]เล็ก ๆ ที่ตกตะกอนออกจาก[[เส้นเลือดดำ]]
** ปกป้องและรับแรงกระแทกที่จะทำอันตรายต่อ[[หัวใจ]]ซึ่งอยู่ตรงกลางช่องทรวงอก
 
{{ระบบและอวัยวะ}}
 
[[หมวดหมู่:ระบบทางเดินหายใจ]]
เส้น 7 ⟶ 53:
[[หมวดหมู่:อก]]
[[หมวดหมู่:ปอด| ]]
{{โครงกายวิภาค}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/ปอด"