ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจตสิก"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 90:
โสภณเจตสิก หมายถึง กลุ่มเจตสิกฝ่ายดีงาม เป็นกลุ่มที่ประกอบได้กับโสภณจิต (ยกเว้นกลุ่มอกุศลจิต และกลุ่มอเหตุกจิตแล้ว จิตที่เหลือชื่อว่าโสภณะจิต) โสภณเจตสิกมี 25 ดวง แบ่งเป็น 4 กลุ่มดังนี้
====สาธารณะ๑๙====
*[[สติ]] ความระลึกได้, ความตามระลึก ความหวนระลึก สติ กิริยาที่ระลึก ความทรงจำ ความไม่เลื่อนลอย ความไม่ลืม สติ สตินทรีย์ สติพละ สัมมาสติ
*[[สติ]] (ความระลึกได้)
*[[สัทธา]] ความเชื่อ, ศรัทธา กิริยาที่เชื่อ กิริยาที่ปลงใจเชื่อ ความเลื่อมใสยิ่ง ศรัทธา สัทธินทรีย์ กำลังคือศรัทธา
*[[สัทธา]] (ความเชื่อ)
*[[หิริ]] ความละอายต่อบาป, กิริยาที่ละอายต่อการประพฤติทุจริตอันเป็นสิ่งน่าละอาย กิริยาที่ละอายต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย
*[[หิริ]] (ความละอายต่อบาป)
*[[โอตตัปปะ]] ความกลัวต่อบาป, กิริยาที่เกรงกลัวต่อการประพฤติทุจริตอันเป็นสิ่งที่น่าเกรงกลัว กิริยาที่เกรงกลัวต่อการประกอบอกุศลบาปธรรมทั้งหลาย
*[[โอตตัปปะ]] (ความกลัวต่อบาป)
*อโลภะ ความไม่อยากได้, การไม่โลภ กิริยาที่ไม่โลภ ความไม่โลภ การไม่กำหนัด กิริยาที่ไม่กำหนัด ความไม่กำหนัด ความไม่เพ่งเล็ง กุศลมูลคืออโลภะ
*อโลภะ (ความไม่อยากได้)
*อโทสะ ความไม่คิดประทุษร้าย, การไม่คิดประทุษร้าย กิริยาที่ไม่คิดประทุษร้าย ความไม่คิดประทุษร้าย ความไม่พยาบาท ความไม่คิดเบียดเบียน กุศลมูลคืออโทสะ
*อโทสะ (ความไม่คิดประทุษร้าย)
*ตัตรมัชฌัตตา (การวางจิตเป็นกลางต่ออารมณ์นั้นๆ)
ที่เหลือจัดเป็น๖คู่ คือการบังคับควบคุมกายและจิตที่ดี คือ
*กายลหุตา จิตตลหุตา ความเบา ความรวดเร็ว ความไม่เชื่องช้า ความไม่กระด้างแห่ง เวทนาขันธ์,สัญญาขันธ์,สังขารขันธ์>กาย วิญญาณขันธ์>จิต (ทำกายจิตเบา)
*กายมุทุตา จิตตมุทุตา ความอ่อน ภาวะที่อ่อน ความไม่กักขฬะ ความไม่แข็ง(ทำกายจิตอ่อน)
*กายกัมมัญญัตตา จิตตกัมมัญญัตตา กิริยาที่ควรแก่การงาน ความควรแก่การงาน ภาวะที่ควรแก่การงาน(ทำกายจิตควรแก่การงาน คือพอประมาณ)
*กายอุชุตา จิตตอุชุตา ความตรง กิริยาที่ตรง ความไม่คด ความไม่โค้ง ความไม่งอ(ทำกายจิตให้ตรง คือแม่นยำ ถูกต้อง)
*กายปัสสัทธิ จิตตปัสสัทธิ การสงบ การสงบระงับ กิริยาที่สงบระงับความสงบระงับ(ทำกายจิตให้สงบ)
*กายปาคุญญตา จิตตปาคุญญตา กิริยาที่คล่องแคล่ว ความคล่องแคล่ว ภาวะที่คล่องแคล่ว(ทำกายจิตให้คล่องแคล่ว)
 
====วิรัตติ๓====
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/เจตสิก"