ผลต่างระหว่างรุ่นของ "มณฑล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
พุทธามาตย์ ย้ายหน้า มณฑล ไปยัง มณฑล (แก้ความกำกวม)
ป้ายระบุ: เปลี่ยนทางใหม่
 
ลบการเปลี่ยนทางไป มณฑล (แก้ความกำกวม)
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง
บรรทัด 1:
#เปลี่ยนทาง [[{{ความหมายอื่น||ความหมายอื่น|มณฑล (แก้ความกำกวม)]]}}
[[ไฟล์:Manjuvajramandala con 43 divinità - Unknown - Google Cultural Institute.jpg|250px|right|thumb|[[ถางกา]]รูป ''มัญชุวัชรมณฑล'']]
'''มณฑล''' ({{lang-sa|मण्डल}}) แปลว่า วง<ref>{{อ้างหนังสือ|ผู้แต่ง = [[ราชบัณฑิตยสถาน]]|ชื่อหนังสือ = [[พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554]] |จังหวัด = พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ|พิมพ์ที่ = ราชบัณฑิตยสถาน|ปี = 2556|ISBN = 978-616-7073-80-4|จำนวนหน้า = 1,544|หน้า = 876}}</ref> ในทาง[[ประติมานวิทยา]]ของ[[ศาสนาแบบอินเดีย]] โดยเฉพาะ[[ศาสนาฮินดู]]และ[[ศาสนาพุทธ]] ใช้เป็นสัญลักษณ์ทางธรรมหรือทางพิธีกรรมเพื่อหมายถึง[[เอกภพ]]<ref name="M-W">{{cite web | title = mandala | url = http://www.merriam-webster.com/dictionary/mandala | year = 2008 | publisher = Merriam–Webster Online Dictionary | accessdate = 2008-11-19 }}</ref> โดยทั่วไปมักแสดงในเชิงอภิปรัชญาและเชิงสัญลักษณ์เป็นแผนภาพหรือแผนภูมิแบบเรขาคณิตรูปจักรวาลแบบย่อส่วน
 
มณฑลส่วนใหญ่เป็นสี่เหลี่ยม มีสี่ประตู มีวงกลมที่จุดศูนย์กลาง แต่ละประตูเป็นรูปตัว T<ref>[http://www.kheper.net/topics/Buddhism/mandala.html Kheper,''The Buddhist Mandala – Sacred Geometry and Art'']</ref> และมีรัศมีสมดุลกัน<ref name=SaylorIntroPDF>{{cite web|last=www.sbctc.edu (adapted)|title=Module 4: The Artistic Principles|url=http://www.saylor.org/site/wp-content/uploads/2011/12/Module-4.pdf|publisher=Saylor.org|accessdate=2 April 2012}}</ref>
 
คำนี้ปรากฏครั้งแรกในคัมภีร์[[ฤคเวท]]ซึ่งใช้หมายถึงกองงานต่าง ๆ ส่วนฝ่ายพิธีกรรมใช้มณฑลเช่น[[นพเคราะห์]]จนถึงปัจจุบัน
 
หลายศาสนายังใช้มณฑลเป็นเครื่องเพ่งใน[[การเข้าสมาธิ]]หรือเข้า[[ภวังค์]]
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง}}
 
[[หมวดหมู่:พุทธศิลป์และวัฒนธรรม]]
[[หมวดหมู่:ศิลปะฮินดู]]
{{โครงศาสนา}}
เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/wiki/มณฑล"