ผลต่างระหว่างรุ่นของ "90377 เซดนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 101:
[[ไฟล์:Celestia distant object orbits.png|thumb|500px|เซดนาเมื่อเทียบกับวัตถุโคจรระยะไกลอื่น ๆ {{refn|1=วัตถุที่มาเปรียบเทียบกับเซดนา ได้แก่ {{mpl-|472651|2015 DB|216}} (วงโคจรผิด), {{mpl-|87269|2000 OO|67}}, {{mpl-|474640|2004 VN|112}}, {{mpl|2005 VX|3}}, {{mpl-|308933|2006 SQ|372}}, {{mpl|2007 TG|422}}, {{mp|2007 DA|61}}, {{mpl-|418993|2009 MS|9}}, {{mpl|2010 GB|174}}, {{mpl-|336756|2010 NV|1}}, {{mpl|2010 BK|118}}, {{mpl|2012 DR|30}}, {{mpl|2012 VP|113}}, {{mpl|2013 BL|76}}, {{mpl|2013 AZ|60}}, {{mpl|2013 RF|98}}, {{mpl|2015 ER|61}}|group=lower-alpha}}]]
 
[[ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย]]ซึ่งเป็นหน่วยงานที่จัดระบบวัตถุต่าง ๆ ในระบบสุริยะ จัดให้เซดนาเป็นวัตถุแถบหินกระจาย<ref name="MPC" /> การจัดนี้เป็นข้อสงสัยอย่างมาก โดยนักดาราศาสตร์จำนวนมากเสนอว่าเซดนาควรจัดอยู่ในหมวดหมู่ใหม่ของวัตถุไกลโพ้นที่เรียกว่า ''วัตถุแถบหินกระจายขยาย'' (Extended scattered disc objects)<ref name="Gladman" /> ''[[วัตถุแยกที่ไกลออกไป]]''<ref name="Jewitt2006"/> ''วัตถุแยกออกระยะไกล''<ref name="Gomez2006" /> หรือ ''วัตถุกระจาย–ขยาย'' ในการจัดระบบอย่างเป็นทางการโดย ''[[Deep Ecliptic Survey]]''<ref name="DES_Elliot2006"/>
 
การค้นพบเซดนานั้นรื้อฟื้นคำถามที่ว่าเทห์ฟ้าใดควรหรือไม่ควรเป็นดาวเคราะห์ ในวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2547 บทความเกี่ยวกับเซดนาของสำนักพิมพ์ที่มีชื่อเสียงรายงานว่าดาวเคราะห์ดวงที่สิบถูกค้นพบแล้ว คำถามนี้ถูกตอบโดย[[นิยามดาวเคราะห์ของไอเอยู|นิยามดาวเคราะห์]]ของ[[สหพันธ์ดาราศาสตร์สากล]]ที่นำมาใช้ในวันที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2549 ซึ่งบอกว่าดาวเคราะห์ต้อง[[ไร้ซึ่งเทห์ฟ้าโดยรอบ|ไม่มีเทห์ฟ้าอื่น ๆ โคจร]]ในบริเวณเดียวกัน เซดนามีค่าสเติร์น–เลวิสันต่ำกว่า 1 โดยประมาณ{{refn|1=ค่าสเติร์น–เลวิสัน (''Λ'') นิยามขึ้นโดย[[แอลัน สเติร์น]]และ[[แฮโรลด์ เอฟ. เลวิสัน]]ในปี พ.ศ. 2545 ใช้ตัดสินว่าวัตถุใดมีวงโคจรที่โล่งจากวัตถุขนาดเล็กโดยรอบอื่น ๆ นิยามโดยอัตราส่วนของมวลดวงอาทิตย์ (คือมวลของวัตถุหารด้วยมวลของดวงอาทิตย์) ยกกำลังสองกับกึ่งแกนเอกของวัตถุนั้นยกกำลัง 3/2 คูณด้วยค่าคงตัว 1.7{{e|16}}.<ref name="stern" /><sup>(see equation 4)</sup> ถ้าวัตถุนั้นมีค่า Λ มากกว่า 1, แสดงว่าวัตถุนั้นมีวงโคจรที่โล่งจากวัตถุอื่น และอาจถูกพิจารณาถึงความเป็นดาวเคราะห์ โดยใช้มวลโดยประมาณที่สูงเกินจริงของเซดนาที่ 2{{e|21}} กก. ค่า Λ ของเซดนา คือ (2{{e|21}}/[[ดวงอาทิตย์|1.9891{{e|30}}]])<sup>2</sup> / 519<sup>3/2</sup> × 1.7{{e|16}} = 1.44{{e|-6}}. ซึ่งน้อยกว่า 1 มาก ดังนั้นเซดนาไม่ใช่ดาวเคราะห์ตามนิยามนี้|group=lower-alpha}} ดังนั้นจึงไม่จัดว่าเซดนาไร้ซึ่งเทห์ฟ้าโดยรอบ แม้ว่ายังไม่ค้นพบวัตถุอื่นในบริเวณเดียวกัน แต่คาดกันว่าเซดนาน่าจะเป็นดาวเคราะห์แคระ โดยเซดนาต้องอยู่ใน[[สภาวะสมดุลอุทกสถิต]] เนื่องจากมีความสว่างพอ ดังนั้นดาวจึงมีขนาดใหญ่พอที่จะรักษาความเป็นทรงกลมได้<ref name="Brown" /> และนักดาราศาสตร์หลายคนก็เรียกเซดนาว่าเป็นดาวเคราะห์แคระแล้ว<ref>{{cite journal | last1 = Barucci | first1 = M. | year = 2010 | title = (90377) Sedna: Investigation of surface compositional variation | url = http://iopscience.iop.org/1538-3881/140/6/2095/ | journal = The Astronomical Journal | volume = 140 | issue = 6| page = 6 | bibcode = 2010AJ....140.2095B | doi = 10.1088/0004-6256/140/6/2095 | last2 = Morea Dalle Ore| first2 = C. | last3 = Alvarez-Candal | first3 = A. | last4 = De Bergh | first4 = C. | last5 = Merlin | first5 = F. | last6 = Dumas | first6 = C. | last7 = Cruikshank | first7 = D. }}</ref><ref>Rabinowitz, Schaefer, Tourtellotte, 2011. [http://adsabs.harvard.edu/abs/2011AAS...21820401R "SMARTS Studies of the Composition and Structure of Dwarf Planets".] ''Bulletin of the American Astronomical Society,'' Vol. 43</ref><ref>Malhotra, 2010. [http://adsabs.harvard.edu/abs/2009AAS...21423704M "On the Importance of a Few Dwarf Planets".] ''Bulletin of the American Astronomical Society'', Vol. 41</ref><ref name="Tancredi2008"/><ref name="Brown-dplist" />