ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วาสตุศาสตร์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 2:
 
'''วาสตุศาสตร์''' (Vāstu śāstra) หรือ
'''วัสดุศาสตร์''' หมายถึงระบบการวางแผนทางสถาปัตยกรรมแบบฮินดู<ref>{{cite book|last1=Quack|first1=Johannes|title=Disenchanting India: Organized Rationalism and Criticism of Religion in India|date=2012|publisher=Oxford University Press|page=119|url=https://books.google.co.in/books?id=TNbxUwhS5RUC&lpg=PA170&pg=PA119#v=onepage&q&f=false|accessdate=17 August 2015}}</ref> ซึ่งแปลตรงตัวว่า "ศาสตร์แห่งสถาปัตยกรรม" วาสตุศาสตร์เป็นเอกสารที่พบใน[[อนุทวีปอินเดีย]]อันอธิบายถึงหลักใยในการออกแบบ โครงสร้าง การจัดวางองคืประกอบงงค์ประกอบ การเตรียมพื้นที่ การจัดแย่งแบ่งพื้นที่โล่ง และ เรขาคณิตเชิงพื้นที่<ref>{{Cite web|url=http://www.vastukarta.com/principles_of_vastu.php|title=GOLDEN PRINCIPLES OF VASTU SHASTRA Vastukarta|website=www.vastukarta.com|access-date=2016-05-08}}</ref> วาสตุศาสตร์พบทั่วไปในคติของศาสนาฮินดู แต่ก็พบในศาสนาพุทธเช่นกัน<ref>{{cite book|title=Vastushastra|first=Vijaya |last=Kumar|publisher=New Dawn/Sterling|year=2002|isbn=978-81-207-2199-9|page= 5}}</ref> เป้าหมายในการออกแบบแบบวาสตุศาสตร์คือการผสมผสานสถาปัตยกรรมเข้ากับธรรมชาติ การใช้งานที่เชื่อมโยงกันระหว่างองค์ประกอบต่าง ๆ และการใช้แบบแผนเรขาคณิตแบบโบราณ ([[ยันตระ]]) หรือ[[แมนเดลา]]มาผสมผสาน
 
วาสตุศาสตร์เป็นส่วนเอกสารของ ''วาสตุวิทยา'' (Vastu Vidya) ซึ่งเป็นแขนงความรู้อย่างกว้างที่เกี่ยวกับการออกแบบ ศิลปะ อันเป็นทฤษฎีที่สืบทอดมาแต่อินเดียโบราณ<ref name=vsgt1>{{cite book|last1=Vibhuti Sachdev, Giles Tillotson|title=Building Jaipur: The Making of an Indian City|date=2004|isbn=978-1861891372|page=147}}</ref>