ผลต่างระหว่างรุ่นของ "90377 เซดนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 40:
วงโคจรส่วนใหญ่ของเซดนาอยู่ไกลออกจากดวงอาทิตย์ไปมากกว่าตำแหน่งปัจจุบัน ซึ่งคาดว่าตำแหน่งที่ไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดจะอยู่ห่างออกไปถึง 937 AU<ref name="barycenter"/> (31 เท่าของระยะของดาวเนปจูน) ทำให้เซดนาเป็นวัตถุหนึ่งที่ไกลที่สุดใน[[ระบบสุริยะ]] นอกเหนือจาก[[ดาวหางคาบยาว]]{{refn|1={{As of|2014}} เซดนาอยู่ที่ประมาณ 86.3&nbsp;AU จากดวงอาทิตย์<ref name="AstDys" /> อีริส ดาวเคราะห์แคระที่มีมวลมากที่สุด และ {{mpl-|225088|2007 OR|10}} วัตถุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะที่ไม่มีชื่อ ขณะนี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าเซดนาที่ 96.4&nbsp;AU และ 87.0&nbsp;AU ตามลำดับ<ref name="AstDys-Eris" /> อีริสอยู่ใกล้กับจุดที่ไกลที่สุด (อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด) ขณะที่เซดนากำลังเข้าใกล้[[จุดปลายระยะทางวงโคจร|จุดที่ใกล้ที่สุด]]ในปี 2619 (อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด)<ref name="Horizons2076" /> เซดนาจะแซงอีริส กลายเป็นวัตถุที่ไกลที่สุดในระบบสุริยะในปี 2657 แต่วัตถุที่[[รายชื่อวัตถุที่อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ|อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ]]อย่าง {{mpl-|225088|2007 OR|10}} แซงเซดนาไปได้ไม่นาน และจะแซงอีริสในปี พ.ศ. 2588<ref name="Horizons2076" />|group=lower-alpha}}<ref group=lower-alpha name=footnoteF>ดาวเคราะห์แคระที่เป็นไปได้อย่าง [[2014 FE72]] มีคาบการโคจรอยู่ที่ ~90,000 ปี และ[[วัตถุระบบสุริยะขนาดเล็ก]] เช่น {{mpl|(308933) 2006 SQ|372}}, {{mpl|2005 VX|3}}, {{mpl|(87269) 2000 OO|67}}, {{mpl|2002 RN|109}}, {{mpl|2007 TG|422}} และดาวหางหลายดวง (เช่น [[ดาวหางใหญ่แห่งปี พ.ศ. 2120]]) มีวงโคจรที่ใหญ่กว่าเช่นกัน สำหรับประเภทหลัง เฉพาะ {{mp|(308933) 2006 SQ|372}}, {{mp|(87269) 2000 OO|67}}, และ {{mp|2007 TG|422}} มีจุดใกล้ที่สุดอยู่ไกลกว่าวงโคจรดาวพฤหัสบดี จึงกลายเป็นข้อถกเถียงกันว่าวัตถุเหล่านี้อาจเป็นดาวหางที่ถูกจัดผิดหมวดหมู่</ref>
 
เซดนามีวงโคจรที่ยาวและยืดเป็นพิเศษ โดยใช้เวลาโคจรหนึ่งรอบเป็นระยะเวลากว่าประมาณ 11,400 ปี และที่ตำแหน่งมีจุดใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด คือที่ 76 AU สิ่งนี้นำมาสู่ความคิดเกี่ยวกับต้นกำเนิดของเซดนา [[ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย]]จัดเซดนาให้อยู่ใน[[แถบหินกระจาย]] ซึ่งเป็นกลุ่มของวัตถุที่มีวงโคจรยืดยาวออกไปไกลเนื่องด้วยแรงโน้มถ่วงจากดาวเนปจูน ถึงกระนั้น การจัดให้เซดนาอยู่ในแถบหินกระจายก็ยังนี้กลายเป็นข้อถกเถียง เพราะตำแหน่งที่ใกล้ที่สุดของเซดนายังคงอยู่ห่างจากไม่เคยเข้ามาใกล้ดาวเนปจูนออกไปมากเกินกว่าพอที่จะมีผลกระทบต่อกันได้ทำให้เซดนาถูกเหวี่ยงกระจายออกไปด้วยแรงโน้มถ่วงจากดาวเนปจูน ทำให้นักดาราศาสตร์บางคนเชื่อว่าเซดนาเป็นวัตถุหนึ่งใน[[เมฆออร์ต]]ชั้นใน แต่บางคนก็เชื่อว่าเซดนามีวงโคจรที่ยืดยาวแบบนี้เนื่องด้วยดาวฤกษ์ที่เฉียดผ่านเข้ามาใกล้ โดยอาจเป็นหนึ่งในดาวของกระจุกดาวของดวงอาทิตย์ตอนเกิด ([[กระจุกดาวเปิด]]) หรืออาจถูกจับยึดโดยระบบดาวเคราะห์อื่น สมมติฐานอีกอย่างหนึ่งเสนอว่าวงโคจรของเซดนาได้รับผลกระทบจาก[[ดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูน|ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ดวงหนึ่งที่พ้นวงโคจรดาวเนปจูน]]<ref name="Mike"/>
 
[[ไมเคิล อี. บราวน์|ไมเคิล บราวน์]] นักดาราศาสตร์ผู้ค้นพบเซดนาและดาวเคราะห์แคระ[[อีริส]] [[เฮาเมอา]] และ[[มาคีมาคี]] คิดว่าเซดนาเป็นวัตถุพ้นดาวเนปจูนในปัจจุบันที่สำคัญที่สุดในทางวิทยาศาสตร์ เพราะว่าการทำความเข้าใจในวงโคจรที่ไม่เสถียรนี้เป็นไปได้ที่จะให้ข้อมูลอันมีค่าเกี่ยวกับต้นกำเนิดและวิวัฒนาการของระบบสุริยะในช่วงแรก<ref name="fussman"/><ref>Chang, Kenneth, [https://www.nytimes.com/2016/01/21/science/space/ninth-planet-solar-system-beyond-pluto.html?emc=edit_au_20160120&nl=afternoonupdate&nlid=68634180&_r=0 ''Ninth Planet May Exist Beyond Pluto, Scientists Report''], New York Times, 21 January 2016, page A1</ref>