ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สติปัฏฐาน 4"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ย้อนการแก้ไขของ 182.53.116.109 (พูดคุย) ไปยังรุ่นก่อนหน้าโดย BallWarapol
ป้ายระบุ: ลบหน้าเปลี่ยนทาง ย้อนรวดเดียว
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 2:
'''สติปัฏฐาน 4''' เป็นหลักการ[[ภาวนา]]ตาม[[มหาสติปัฏฐานสูตร]]<ref>พระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ ทีฆนิกาย มหาวรรค มหาสติปัฏฐานสูตร . พระไตรปิฎกฉบับสยามรัฐ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก [http://www.84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=10&A=6257&Z=6764&pagebreak=0]. เข้าถึงเมื่อ 7-7-52</ref> เป็นข้อปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง คือเข้าใจตามเป็นจริงของสิ่งทั้งปวงโดยไม่ถูกกิเลสครอบงำ สติปัฏฐานมี 4 อย่าง การตาม[[อนุปัสสนา]]ใน[[กาย]] [[เวทนา]] [[จิต]] และ[[ธรรม]]
 
โดยคำว่า '''สติ''' หมายถึงความระลึกรู้ ไม่ลืม สติเป็น[[เจตสิก]]ที่เกิดกับจิตที่ดีงามเท่านั้น ไม่เกิดกับอกุศล คอยช่วยให้จิตที่ดีงามนึกถึงแต่เรื่องที่เป็น[[ประโยชน์]]ให้ผลเป็นความสุข ระลึกถึงแน่แต่สิ่งที่ไม่ก่อให้เกิดโทษคือกิเลส,​ ส่วน'''ปัฏฐาน''' ​แปล​ได้​หลายอย่าง​ ​แต่​ใน​มหาสติปัฏฐานสูตร​และ​สติปัฏฐานสูตร ​หมาย​ถึง​ ​ความตั้งมั่น, ความแน่วแน่, ความมุ่งมั่นไม่ปล่อยเวลาให้เสีย[[ประโยชน์]]
 
โดยรวมคือเข้าไปรู้เห็นในสิ่งทั้งหลายตามความเป็นจริง คือ วงจร[[ปฏิจจสมุปบาท]] เพื่อให้เห็นไตรลักษณ์หรือสามัญลักษณะ จนละคลายความยึดติดด้วยอำนาจกิเลสทั้งปวง ได้แก่