ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ตัวระบุวัตถุดิจิทัล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
Anonimeco (คุย | ส่วนร่วม)
นำกลับมา
บรรทัด 1:
'''<nowiki>''ตัวระบุวัตถุดิจิทัล''</nowiki><nowiki>'<ref>ดูที่[[:ไฟล์:DOI_จากราชบัณฑิต.jpg|เอกสารจากราชบัณฑิตยสถาน]]</ref></nowiki> หรือ <nowiki>'''</nowiki>ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล<nowiki>'''</nowiki><nowiki><ref>[http://www.thaiglossary.org/node/60748 คลังศัพท์ไทย]</ref></nowiki> (<nowiki>{{lang-en|digital object identifier: DOI}}</nowiki>) เป็นระบบสากลที่ใช้ระบุตัวเอกสาร<nowiki>[[อิเล็กทรอนิกส์]]</nowiki>โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่อยู่ของเอกสารนั้น ๆ โดยหน่วยงานชื่อ International DOI Foundation (IDF) <nowiki>''</nowiki>DOI<nowiki>''</nowiki> เป็น<nowiki>[[เครื่องหมายการค้าจดทะเบียน]]</nowiki>ของ IDF<nowiki><ref>[http://www.doi.org/index.html Welcome to the DOI System]</ref></nowiki> ประโยชน์ของระบบ DOI คือใช้เป็นข้อความที่ใช้แสดงแทนบทความทางวิชาการ ซึ่งทุกคนสามารถใช้หมายเลขนี้ในการค้นหาเอกสารที่ต้องการนั้น ๆ ในเครือข่ายดิจิตอลตัวระบุวัตถุดิจิทัล''' หรือ '''ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล''' เป็นระบบสากลที่ใช้ระบุตัวเอกสารอิเล็กทรอนิกส์โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่อยู่ของเอกสารนั้น ๆ โดยหน่วยงานชื่อ International DOI Foundation (IDF) ''DOI'' เป็นเครื่องหมายการค้าจดทะเบียนของ IDF ประโยชน์ของระบบ DOI คือใช้เป็นข้อความที่ใช้แสดงแทนบทความทางวิชาการ ซึ่งทุกคนสามารถใช้หมายเลขนี้ในการค้นหาเอกสารที่ต้องการนั้น ๆ ในเครือข่ายดิจิตอล
 
== โครงสร้างของ DOI ==
DOI ประกอบด้วยตัวเลขหรือข้อความ 2 ส่วน ได้แก่ prefix และ suffix ตัวอย่างเช่น
 
: <code>10.1001000/1930s​182</code>
 
ความหมาย
บรรทัด 13:
: <code>1000</code> เป็นรหัสลงทะเบียนของผู้ตีพิมพ์เอกสาร ในกรณีนี้ 1000 เป็นเลขของ International DOI Foundation
 
: <code>182</code> เป็น suffix หรือเลขประจำเอกสาร ใช้ระบุตัวตนของเอกสารชิ้นนั้น ๆ ในกรณีนี้ <tt>doi:10.1000/182</tt> ใช้แทนคู่มือ DOI เวอร์ชัน 4.4.1 (DOI Handbook, Version 4.4.1)
 
ส่วน Prefix ตั้งขึ้นโดย DOI Registration Agency ให้เฉพาะแก่ผู้ที่ลงทะเบียนนั้น ๆ ส่วน Suffix นั้นตั้งขึ้นเองโดยผู้ที่ลงทะเบียน และต้องใช้แทนเอกสารใดเอกสารหนึ่ง ซึ่งสามารถใช้รวมกับเลขทะเบียนที่ใช้แทนหนังสือหรือเอกสารอื่น ๆ เช่น IS​an​amazing BN[[เลขมาตรฐานสากลประจำหนังสือ|ISBN]] หรือ ISS N [[ISSN]]
 
ในการอ้างอิง DOI บนเว็บ​[[เว็บไซต์]]หรือในสิ่งตีพิมพ์ที่ถูกต้อง คือ <tt>doi:10.1000/182</tt>
 
== ประวัติ ==
รหัสทรัพยากร สารสนเทศดิจิทัล หรือ DOI เกิดจากความร่วมมือของสมาคมสำนักพิมพ์แห่งสหรัฐอเมริกาที่ต้องการมาตรฐานการ ให้รหัสของเอกสารดิจิทัล ร่วมกับองค์กรต่าง ๆ เช่น Interna tiona​l​[[International Publishers Association]]; International Association of Scientific, Technical and Medical Publishers; Association of American Publishers โดยได้ก่อตั้งองค์กรที่ไม่แสวงหากำไรเรียกว่า มูลนิธิ DOI เรียกว่าThe International DOI® Foundation (IDF) ในปี 1977
 
ต่อ มา IDF ได้ทำงานร่วมกับองค์กร CNRI (Corporation for National Research Initiatives) ในการพัฒนาระบบ Handle System เพื่อใช้เป็นองค์ประกอบสำคัญทางเทคนิคของระบบ DOI
 
ในปีต่อมาคือ 1998-2000 IDF ร่วมกับ indecs project ได้กำหนด Indecs framework เป็น Data model องค์กรที่เป็น Registration Agency แห่งแรกเริ่มขึ้นในปี 2000 โดยการเชื่อมโยงบทความวารสารเรียกว่า CrossRef Registration Agency
บรรทัด 29:
 
=== ในประเทศไทย ===
การนำรหัสทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลมาใช้งาน เริ่มมีการดำเนินการไปแล้ว โดย[[สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่ง​าติแห่งชาติ]] (วช.) ได้สมัครสมาชิกเป็นผู้บริหารจัดการรหัสทรัพยากรสารสนเทศดิจิทัลด้านการวิจัย ของประเทศกับ DataCite ซึ่งเป็น Registration Agencies (RA) และได้รับการยอมรับจากที่ประชุมใหญ่สามัญประจำปีของ DataCite ให้เป็นสมาชิกเต็มรูปแบบลำดับที่ 17 เมื่อวันที่ 11 ธันวาคม 2555{{อ้างอิง}}
 
== อ้างอิง ==
{{รายการอ้างอิง|2}}
* Fact sheet is a great[http://www.doi.org/factsheets/DOIIdentifierSpecs.html Factsheet: DOI System and Internet Identifier Specifications in https://g.co/doodle/eqg9ee]
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==
* [http://doi.org/ หน้าหลักของระบบ DOI]
* หน้าหลักของระบบ https://g.co/doodle/eqg9ee The Handle System
* [http://www.handle.net/ The Handle System]
* [http://www.nrct.go.th/th/doi.aspx ทำความรู้จักตัวระบุวัตถุดิจิทัล (ดีโอไอ)]
 
[[หมวดหมู่:มาตรฐานสากล]]
[[หมวดหมู่:ตัวระบุ]]
[[หมวดหมู่:การจัดพิมพ์ทางวิชาการ]]
{{โครง}}