ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แผ่นเสียง"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Dolkungbighead (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 18:
แผ่นชนิดนี้ มีขนาดบาง เบา ตกไม่แตก คุณภาพเสียงทุ่มนุ่มนวลลุ่มลึกมากขึ้น สามารถลดเสียงรบกวนจากหัวเข็มลงเหลือเพียงเล็กน้อย และบรรจุเพลงเพิ่มขึ้นด้วยขนาด 12 นิ้ว สปีด 33 รอบเศษ/นาที ปกติบันทึกได้หน้าละ 20 นาทีเศษ (ราว 6-7 เพลง/หน้า)
 
ใน[[ต่างประเทศ]] ยังคงมีผลิตบ้างจำนวนจำกัดเฉพาะกลุ่มที่ชอบฟังเสียงจากแผ่นไวนิล ทำให้แต่ละอัลบั้มมีราคาสูง ส่วน[[ประเทศไทย]]ซึ่งเลิกผลิตแบบอุตสาหกรรมตั้งแต่ปี พ.ศ . 2535 เมื่อแถบบันทึกเสียงตลับ ''(Cassette Tape)'' เป็นที่นิยมมากขึ้นก่อนถึงยุคแผ่นซีดีเข้ามาแทนที่ตามลำดับ ปัจจุบันกำลังมีกระแสการกลับมานิยมแผ่นรูปแบบนี้อีกครั้ง ตั้งแต่ราวต้นทศวรรษ 2550 บริษัทค่ายเพลงต่างๆ ในเมืองไทยสั่งทำแผ่นจำนวนจำกัดจากโรงงานที่ [[ญี่ปุ่น]] อเมริกา และ [[เยอรมนี]] อัลบัมเก่ามักใช้ภาพปกต้นฉบับเดิมสำหรับนักสะสม มีราคาจำหน่ายจากหลักร้อยในอดีตเป็นหลักพันบาทขึ้นไป พร้อมๆกับตลาดแผ่นเสียงไวนิลมือสองที่ขยายตัวอย่างรวดเร็วในศูนย์การค้าจนถึงตามสื่อ[[อินเทอร์เน็ต]]
 
==== แผ่นซิงเกิล ====