ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค)"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
แก้ไขคำ
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 10:
| father = [[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]]
| mother = หม่อมหรุ่น
| wife = ท่านผู้หญิงอู่ (ภรรยาเอก) <br> หม่อมทรัพย์
| wife =
| husband =
| children =
บรรทัด 16:
| wikilinks =
}}
'''เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์''' มีนามเดิมว่า '''เทศ''' เกิดเมื่อ พ.ศ. 2384 ใน[[สกุลบุนนาค]] ตรงกับรัชสมัย[[พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว]] เป็นบุตร[[สมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาประยูรวงศ์ (ดิศ บุนนาค)]] กับหม่อมหรุ่น เข้ารับราชการในรัชกาลที่ 4 เป็นนายรองไชยขรรค์มหาดเล็ก แล้วเป็นนายสรรพวิชัยหุ้มแพรมหาดเล็ก จากนั้นเป็นพระเพชรพิไสยศรีสวัสดิ์ ปลัดเมืองเพชรบุรี
 
ในรัชกาลที่ 5 ได้เลื่อนเป็น''พระยาสุรินทรฦๅชัย'' ผู้ว่าราชการเมือง[[เพชรบุรี]] และราชการจรในเมือง[[ราชบุรี]] ดูแลการทำโทรเลขทางเมืองทวายและตัดทาง ได้รับความลำบากตรากตรำเป็นอันมาก รับราชการได้เลื่อนตำแหน่งเป็น[[ข้าหลวงเทศาภิบาล]][[มณฑลราชบุรี]] เป็นผู้ที่มีความวิริยอุตสาหะ และมีความจงรักภักดียิ่ง ในเดือนมกราคม พ.ศ. 2440 จึงโปรดฯ ให้สถาปนาเป็น[[เจ้าพระยา]] มีสมญาตามจารึกในหิรัญบัฏว่า ''เจ้าพระยาสุรพันธพิสุทธิ์ ชนุตมราชภักดี สกลเทพมนตรีมิตรจิตร สุจริตวราธยาไศรย เสนานุวัตรสมัยสมันตโกศล ยุติธรรมวิมลสัตยารักษ์ สุนทรศักดิ์วัฒนไวย อภัยพิริยพาหุ'' ดำรง[[ศักดินา]] 10,000<ref>ราชกิจจานุเบกษา, [http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2440/041/702.PDF], เล่ม 14, หน้า 702-3</ref> ได้รับพระราชทาน[[เครื่องราชอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า]] ชั้นปฐมจุลจอมเกล้า
บรรทัด 47:
* หลวงวิสูตรอัศดร (คลาย บุนนาค)
 
ส่วนธิดาที่เกิดแต่ภรรยาอื่น และได้เข้าถวายตัวเป็นเจ้าจอมในรัชกาลที่ 5 ได้แก่ [[เจ้าจอมแก้ว ในรัชกาลที่ 5]] และ [[เจ้าจอมแส ในรัชกาลที่ 5]] ธิดาชื่อ หวน ได้เป็น หม่อมห้ามใน[[พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าออศคาร์นุทิศ กรมหมื่นอนุวัตรจาตุรนต์]] ธิดาชื่อ คุณหญิงกุ่ม เป็นภรรยาพระยาชัยสุรินทร์ (ตาล บุนนาค) และธิดาชื่อ คุณหญิงขลิบ เป็นภรรยา[[พระยาวันพฤกษ์พิจารณ์ (ทองคำ เศวตศิลา)]]
เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ บุนนาค) มีบุตรธิดารวม 62 คน บุตรหลายคนรับราชการปฏิบัติหน้าที่ตามหัวเมืองโดยเฉพาะจังหวัดเพชรบุรี ซึ่งเป็นจังหวัดที่บิดาเคยรับราชการมาก่อน เจ้าพระยาสุรพันธ์พิสุทธิ์ (เทศ) ถึงแก่อสัญกรรม ในปี พ.ศ. 2450 อายุ 66 ปี