ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปลากระเบนค้างคาว"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
V.patipon (คุย | ส่วนร่วม)
มีการอัพเดทวิจัยใหม่ในปี 2010
V.patipon (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 34:
| range_map_caption = [[แผนที่]]แสดงการกระจายพันธุ์
}}
'''ปลากระเบนค้างคาว''',<ref>ทัศพล กระจ่างดารา. 2560. ''[https://drive.google.com/file/d/0B83_my-FPRvcWWQwYm1oZnEtTEk/edit ปลากระดูกอ่อน (ปลาฉลาม ปลากระเบน และปลาหนู) ที่พบในน่านน้ำไทยและน่านน้ำใกล้เคียง.] กองวิจัยและพัฒนาประมงทะเล. กรมประมง. กระทรวงเกษตรและสหกรณ์. 331 หน้า.''</ref> หรือ '''ปลากระเบนนก, ปลากระเบนเนื้อดำ''', '''ปลากระเบนยี่สน'''หรือ'''ปลากระเบนนกจุดขาว''' ({{lang-en|spotted eagle ray}}; {{ชื่อวิทยาศาสตร์|Aetobatus Ocellatus}}<ref name=":0">W�ll�amWhite, W. T., Wh�iteLast, PeterP. R., LastNaylor, Gav�nG. J. P., NaylorJensen, K�rstenK. Jensenand &Caira, Jan�neJ. N. Ca�ra (2010). Descriptions of new sharks and rays from Borneo. [https://www.cmar.csiro.au/docs/Descriptions-of-sharks-and-rays-from-Borneo-small.pdf "'''Clarification of ''Aetobatus ocellatus'' (Kuhl, 1823) as a valid species, and a comparison with ''Aetobatus narinari'' (Euphrasen, 1790) (Rajiformes: Myliobatidae)"''']</ref>) เป็น[[ปลากระเบน]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนนก]] (Myliobatidae)
 
sharks and rays from Borneo. [https://www.cmar.csiro.au/docs/Descriptions-of-sharks-and-rays-from-Borneo-small.pdf "'''Clarification of ''Aetobatus ocellatus'' (Kuhl, 1823) as a valid species, and a comparison with ''Aetobatus narinari'' (Euphrasen, 1790) (Rajiformes: Myliobatidae)"''']</ref>) เป็น[[ปลากระเบน]][[สปีชีส์|ชนิด]]หนึ่ง อยู่ใน[[วงศ์ปลากระเบนนก]] (Myliobatidae)
 
มีผิวหนังเรียบ ใกล้โคนหางด้านบนมีเงี่ยง 1–4 เงี่ยง พบมากที่สุด 6 เงี่ยง เรียงอยู่ชิดกัน ด้านหลังสีดำมีจุดสีขาวกระจายอยู่ส่วนท้าย ด้านท้องสีขาว หางเรียวยาวมาก มีส่วนหัวที่แยกออกจากครีบเห็นได้ชัดเจน จึงทำให้ว่ายน้ำไปมาได้อย่างอิสระเหมือนนกบิน มีขนาดกว้างได้ถึง 1.5 เมตร เคยพบสูงสุดถึง 3 เมตร น้ำหนัก 230 กิโลกรัม<ref>[http://www.elasmodiver.com/spotted_eagle_ray.htm SPOTTED EAGLE RAY]</ref>