ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ประเทศเบลารุส"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 63:
}}
 
'''เบลารุส''' ({{lang-be|Беларусь}} {{IPA|[bʲɛlaˈrusʲ]}} ''บฺแยลารูสฺย''; {{lang-ru|Беларусь, Белоруссия}}) หรือชื่อทางการว่า '''สาธารณรัฐเบลารุส''' ({{lang-be|Рэспубліка Беларусь}}; {{lang-ru|Республика Беларусь}}) เป็น[[ประเทศที่ไม่มีทางออกสู่ทะเล]] ตั้งอยู่ในภูมิภาค[[ยุโรปตะวันออก]] มีอาณาเขตติดต่อกับ[[สหพันธรัฐรัสเซีย|รัสเซีย]] [[ประเทศยูเครน|ยูเครน]] [[ประเทศโปแลนด์|โปแลนด์]] [[ประเทศลิทัวเนีย|ลิทัวเนีย]] และ[[ประเทศลัตเวีย|ลัตเวีย]] เมืองหลวงของประเทศคือกรุง[[มินสค์]] เมืองสำคัญของประเทศนี้ ได้แก่ [[เบรสต์ (เบลารุส)|เบรสต์]] [[กรอดโน]] [[กอเมล]] และ[[วีเซียบสค์]] พื้นที่มากกว่า 40% ของขนาตประเทศขนาดประเทศ 207,600 ตารางกิโลเมตร (80,200 ตารางไมล์) เป็นป่าไม้ ภาคเศรษฐกิจหลักของประเทศคืออุตสาหกรรมบริการและการผลิต<ref>{{cite web| url=http://belstat.gov.by/homep/en/publications/belarus_in_figures/2012/about.php| title=Contents| publisher=Belstat.gov.by| accessdate=4 October 2012| deadurl=yes| archiveurl=https://web.archive.org/web/20130118020305/http://belstat.gov.by/homep/en/publications/belarus_in_figures/2012/about.php| archivedate=18 January 2013| df=dmy-all}}</ref> จนถึงคริสต์ศตวรรษที่ 20 ดินแดนที่กลายมาเป็นประเทศเบลารุสในปัจจุบันเคยถูกรัฐต่าง ๆ ในหลาย ๆ ยุคยึดครอง ตลอดจนอาณาเขตของซึ่งรวมถึง[[ราชรัฐโปลอตสค์]] (คริสต์ศตวรรษที่ 11 ถึง 14), [[แกรนด์ดัชชีลิทัวเนีย]], [[เครือจักรภพโปแลนด์–ลิทัวเนีย]] และ[[จักรวรรดิรัสเซีย]]
 
ในช่วงหลัง[[การปฏิวัติรัสเซีย]]ใน ค.ศ. 1917 เบลารุสได้ประกาศเอกราชในฐานะ[[สาธารณรัฐประชาชนเบลารุส]] แต่[[สหพันธ์สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตรัสเซีย]]ได้เข้ายึดครอง [[สาธารณรัฐโซเวียตสังคมนิยมเบียโลรัสเซีย]]ได้กลายเป็นผู้ก่อตั้ง[[สาธารณรัฐของสหภาพโซเวียต|สาธารณรัฐองค์ประกอบ]]ของผู้ก่อตั้ง[[สหภาพโซเวียต]]ใน ค.ศ. 1922 และเปลี่ยนชื่อเป็น[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตเบียโลรัสเซีย]] (Byelorussian SSR) ดินแดนของเบลารุสเกือบครึ่งหนึ่งถูกผนวกไปเป็นส่วนหนึ่งของโปแลนด์หลังจาก[[สงครามโปแลนด์–โซเวียต]]ใน ค.ศ. 1919–1921 พรมแดนส่วนใหญ่ของเบลารุสมีรูปแบบเป็นปัจจุปันในลักษณะอย่างปัจจุบันตั้งแต่ ค.ศ. 1939 เมื่อดินแดนบางส่วนของ[[สาธารณรัฐโปแลนด์ที่ 2]] ถูกผนวกเข้ากับเบลารุสอีกครั้งหลังจาก[[การรุกรานโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต]] และได้ข้อสรุปหลัง[[สงครามโลกครั้งที่สอง]]<ref name="uni1">{{cite book| url=https://books.google.com/books?id=o85YDMTeMrUC&dq=reunification+of+western+belarus| title=National purpose in the world economy: post-Soviet states in comparative perspective| last=Abdelal| first=Rawi| year=2001| publisher=[[Cornell University Press]]| isbn=978-0-8014-3879-0}}</ref><ref name="uni2">{{cite book| url=https://books.google.com/books?id=wGA4o-UhAfgC&pg=PA713&dq=reunification+of+western+belarus#v=onepage| title=Europa World Year, Book 1| last=Taylor & Francis Group| year=2004| publisher=[[Routledge|Europa publications]] |isbn= 978-1-85743-254-1}}</ref><ref name="uni3"/> ในช่วงสงครามโลกครั้งที่สอง ปฏิบัติการต่าง ๆ ทางทหารทำให้เบลารุสเสียหายอย่างรุนแรงซึ่ง โดยสูญเสียประชากรราวหนึ่งในสามและทรัพยากรทางเศรษฐกิจมากกว่าครึ่ง<ref name="axell">{{cite book| last=Axell| first=Albert| title=Russia's Heroes, 1941–45| publisher=Carroll & Graf Publishers| year=2002| page=247| isbn=0-7867-1011-X}}</ref> สาธารณรัฐถูกได้รับการพัฒนาขื้นใหม่อีกครั้งหลังสงคราม ใน ค.ศ. 1945 สาธารณรัฐเบียโลรัสเซียกลายเป็นสมาชิกผู้ก่อตั้งของ[[สหประชาชาติ]]พร้อมกับ[[สหภาพโซเวียต]]และ[[สาธารณรัฐสังคมนิยมโซเวียตยูเครน|สาธารณรัฐยูเครน]]<ref>{{cite web|url=https://www.un.org/en/members/growth.shtml |title=United Nations member States – Growth in United Nations membership, 1945–present |publisher= |deadurl=yes |archiveurl=https://web.archive.org/web/20140712192515/http://www.un.org/en/members/growth.shtml |archivedate=12 July 2014 |df= }}</ref>
 
รัฐสภาแห่งสาธารณรัฐเบลารุสประกาศอำนาจอธิปไตยของเบลารุสเมื่อวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ. 1990 และในระหว่าง[[การล่มสลายของสหภาพโซเวียต]] เบลารุสได้ประกาศเอกราชเมื่อวันที่ 25 สิงหาคม ค.ศ. 1991<ref>{{cite web| url=https://www.cia.gov/library/publications/the-world-factbook/geos/bo.html| title=The World Factbook| publisher=cia.gov| accessdate=4 March 2016}}</ref> [[อเล็กซานเดอร์ ลูคาเชนโค]]ได้ดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีคนแรกของประเทศมาตั้งแต่ ค.ศ. 1994 เบลารุสนักข่าวตะวันตกบางคนได้รับการขนานนามเบลารุสว่าเป็น "เผด็จการสุดท้ายของยุโรป" โดยนักข่าวตะวันตกบางคน<ref>{{cite news|url=https://www.theguardian.com/world/2012/oct/07/belarus-inside-europes-last-dictatorship|accessdate=7 August 2014 |title=Belarus: inside Europe's last dictatorship |location=London |work=The Guardian|first=Sigrid|last=Rausing|date=7 October 2012}}</ref><ref name="reuters1">{{cite news| url=https://www.reuters.com/article/2012/03/04/us-belarus-dicator-idUSTRE8230T320120304 | agency=[[Reuters]] | title=Belarus's Lukashenko: "Better a dictator than gay" |quote=...German Foreign Minister's branding him 'Europe's last dictator'|location=Berlin |date=4 March 2012}}</ref> ในบัญชีของเนื่องมาจากรูปแบบรัฐบาลเผด็จการสไตล์ของซึ่งลูคาเชนโคได้อธิบายตนเองนิยามเองว่าเป็น[[อำนาจนิยม]]<ref>{{cite news|title=Profile: Alexander Lukashenko|url=http://news.bbc.co.uk/1/hi/world/europe/3882843.stm|accessdate=7 August 2014|work=BBC News|publisher=BBC|date=9 January 2007|quote='..an authoritarian ruling style is characteristic of me [Lukashenko]'}}</ref><ref name="HRW">{{cite web|url=http://hrw.org/english/docs/2005/01/13/belaru9878.htm |title=Essential Background&nbsp;– Belarus |accessdate=26 March 2006 |year=2005 |publisher=Human Rights Watch}}</ref><ref name="amnesty"/> ลูคาเชนโคยังคงใช้นโยบายหลายประการจากยุคโซเวียตหลายประการ เช่น กรรมสิทธิ์ของรัฐในส่วนของเศรษฐกิจขนาดส่วนใหญ่ การเลือกตั้งภายใต้กฎของลูคาเชนโคถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างกว้างขวางว่าไม่ยุติธรรม และตามรายงานของหลายประเทศและองค์กรระหว่างประเทศต่าง ๆ การต่อต้านทางการเมืองได้ถูกปราบปรามอย่างรุนแรง เบลารุสเป็นประเทศสุดท้ายในยุโรปที่ยังคงใช้โทษประหารชีวิต<ref>{{cite web| url= http://www.osce.org/odihr/elections/belarus| accessdate= 28 December 2010| title=Office for Democratic Institutions and Human Rights&nbsp;– Elections&nbsp;– Belarus}}</ref><ref>{{cite news| url=https://www.economist.com/blogs/easternapproaches/2010/12/belaruss_election_0| accessdate=28 December 2010| title=Belarus's election: What should the EU do about Belarus?| date=27 December 2010}}</ref><ref>{{cite web| url=http://www.fco.gov.uk/en/news/latest-news/?view=News&id=504974682| accessdate=28 December 2010| title=Foreign Secretary expresses UK concern following Belarus elections| deadurl=yes| archiveurl=https://web.archive.org/web/20110513211744/http://www.fco.gov.uk/en/news/latest-news/?view=News&id=504974682| archivedate=13 May 2011| df=dmy-all}}</ref> คะแนนดัชนีประชาธิปไตยของเบลารุสนั้นต่ำที่สุดในยุโรป โดยเบลารุสมีสถานะถูกระบุว่า "ไม่เสรี" โดยองค์การฟรีดอมเฮาส์ Freedomถูกระบุว่า House"ถูกกดขี่" ในขณะที่ดัชนีเสรีภาพทางเศรษฐกิจของเบลารุสมีสถานะ "ถูกควบคุม" และได้รับการจัดอันดับว่าเป็นประเทศที่เลวร้ายที่สุดสำหรับ[[เสรีภาพสื่อ]]ในยุโรป ในดัชนีเสรีภาพของสื่อประจำ ค.ศ. 2013-142013–2014 ที่จัดทำโดยซึ่ง[[องค์กรนักข่าวไร้พรมแดน]]ได้เป็นผู้เผยแพร่โดยจัดอันดับเบลารุสอยู่ในอันดับที่ 157 จาก 180 ประเทศทั่วโลก<ref>{{citation| publisher=[[Reporters Without Borders]]| title=Press Freedom Index 2013/2014| date=January 2014| url=https://rsf.org/en/ranking/2014| accessdate=6 March 2014| deadurl=yes| archiveurl=https://web.archive.org/web/20140214120404/http://rsf.org/index2014/en-index2014.php| archivedate=14 February 2014| df=dmy-all}}</ref>
 
ใน ค.ศ. 2000 เบลารุสและรัสเซียได้ลงนามในสนธิสัญญาเพื่อความร่วมมือที่แน่นแฟ้นยิ่งขึ้น และได้กลายเป็นโดยก่อตั้ง[[รัฐสหภาพรัสเซียและเบลารุส]] กว่าร้อยละ 70% ของประชากรเบลารุสจำนวน 9.49 ล้านคนอาศัยอยู่ในเขตเมือง ประชากรมากกว่าร้อยละ 80% เป็น[[ชาวเบลารุส]] กับชนกลุ่มน้อยขนาดใหญ่ของได้แก่ ชาวรัสเซีย, โปแลนด์ และยูเครน นับตั้งแต่การลงประชามติใน ค.ศ. 1995 ประเทศเบลารุสมีภาษาราชการสองภาษาคือ[[ภาษาเบลารุส]]และ[[ภาษารัสเซีย]] [[รัฐธรรมนูญแห่งเบลารุส|รัฐธรรมนูญของเบลารุส]]ไม่ได้ประกาศศาสนาอย่างเป็นทางการแม้ว่า แต่ศาสนาหลักของประเทศคือ[[นิกายออร์ทอดอกซ์เบลารุส|ศาสนาคริสต์นิกายอีสเทิร์นออร์ทอดอกซ์]] ศาสนาที่แพร่หลายมากเป็นอันดับสองของเบเลรุสคือเบลารุสคือ[[โรมันคาทอลิก|นิกายโรมันคาทอลิก]]ซึ่งมีขนาดเล็กผู้นับถือจำนวนน้อยกว่านี้มาก ถึงกระนั้นเบลารุสก็เฉลิมฉลองทั้งวันคริสต์มาสและอีสเตอร์ของทั้งทั้งออร์โธด็อกซ์ออร์ทอดอกซ์และคาทอลิกเป็นซึ่งเป็นในฐานะวันหยุดประจำชาติ<ref>{{cite web| url=http://president.gov.by/special/en/holidays_en/| title=The official Internet portal of the President of the Republic of Belarus. RusPDAVersion for Visually Impaired People| publisher=}}</ref> เบลารุสเป็นสมาชิกขอของ[[งสหประชาชาติสหประชาชาติ]]นับตั้งแต่ก่อตั้ง, [[เครือรัฐเอกราช]], [[องค์การสนธิสัญญาความมั่นคงร่วมกัน]], [[สหภาพเศรษฐกิจยูเรเชีย]] และ[[ขบวนการไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด]] เบลารุสไม่ได้แสดงความปรารถนาที่จะเข้าร่วมสหภาพยุโรป แต่อย่างไรก็ตามเบลารุสก็ยังคง[[ความสัมพันธ์เบลารุส–สหภาพยุโรป|รักษาความสัมพันธ์ทวิภาคีกับองค์กรองค์การ]] และในทำนองเดียวกันเบลารุสมีส่วนร่วมในโครงการสองโครงการของสหภาพยุโรปเช่น คือ [[หุ้นส่วนตะวันออก]] และ [[การริเริ่มที่บากู]] เป็นต้น
 
== ประวัติศาสตร์ ==