ผลต่างระหว่างรุ่นของ "โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{กล่องข้อมูล โรงเรียน|addr=พ.ป. / P.T.|colours={{color box|Blue}}{{color box|Yellow}} [[น้ำเงิน]]-[[เหลือง]]|district=สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 9|established=23 มกราคม พ.ศ. 2452 (110 ปี 38 วัน)|head=ดร.สามารถ รอดสำราญ|latin_name=Phrapathom Witthayalai School|founder=[[พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว]]|motto=เราจะทำดีที่สุด|motto_translation=มีวินัย ใฝ่การเรียน เพียรทำดี มีความสุข|name=โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย|schooltype=[[โรงเรียนรัฐบาล]]|song=มาร์ชพระปฐมวิทยาลัย|language=ภาษาที่มีการเรียนการสอน
โรงเรียนมัธยมศึกษาขนาดใหญ่พิเศษ|song=มาร์ชพระปฐมวิทยาลัย|language=ภาษาที่มีการเรียนการสอน
{{flagicon|THA}} [[ภาษาไทย]]<br>{{flagicon|UK}} [[ภาษาอังกฤษ|ภาษาอังกฤษ]]<br>{{flagicon|China}} [[ภาษาจีน|ภาษาจีน]]<br>{{flagicon|Korea}} [[ภาษาเกาหลี|ภาษาเกาหลี]]<br>{{flagicon|France}} [[ภาษาฝรั่งเศส|ภาษาฝรั่งเศส]]<br>{{flagicon|Russia}} [[ภาษารัสเซีย|ภาษารัสเซีย]]|website=http://phrapathom.ac.th/|logo=[[ไฟล์:Phrapathomwitthayalai_school_logo.png|ตราประจำโรงเรียน พระปฐมวิทยาลัย|150px]]|head_label=ผู้อำนวยการสถานศึกษา|address=117/2 ถ.เทศา ต.พระปฐมเจดีย์ อ.เมืองนครปฐม จ.นครปฐม รหัสไปษรณีย์ 73000}}
 
เส้น 6 ⟶ 5:
 
==สัญลักษณ์==
[[ไฟล์:Phrapathomwitthayalai_school_logo.png|ตราประจำโรงเรียน พระปฐมวิทยาลัย|180x180px]]
ธงโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย ลักษณะ เป็นธงสี่เหลี่ยงผืนผ้าสีน้ำเงิน มีรูปโล่ และปีกสองข้างอยู่กลางผืนผ้า กลางโล่มีภาพ[[องค์พระปฐมเจดีย์]]สีเหลืองเปล่งรัศมี 7 แฉก และจารึกชื่อพระปฐมวิทยาลัยสีเหลือง โค้งเป็นรูปแนวใต้รูป
 
'''ตราประจำโรงเรียน''' ตราประจำโรงเรียนเป็นรูป[[องค์พระปฐมเจดีย์]]กำลังเปล่งรัศมี ลอยอยู่เหนือก้อนเมฆ
 
'''ธงโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย''' ลักษณะ เป็นธงสี่เหลี่ยงผืนผ้าสีน้ำเงิน มีรูปโล่ และปีกสองข้างอยู่กลางผืนผ้า กลางโล่มีภาพ[[องค์พระปฐมเจดีย์]]สีเหลืองเปล่งรัศมี 7 แฉก และจารึกชื่อพระปฐมวิทยาลัยสีเหลือง โค้งเป็นรูปแนวใต้รูป
 
โล่ หมายถึง เป็นสัญลักษณ์ของสิ่งล้ำค่า ซึ่งได้มาจากการแสดงความดี
เส้น 35 ⟶ 38:
[[โรงเรียนวิชาขำนะโฉด]] คำว่า "วิชา" แปลว่า วิชา คำว่า "ชำนะ" แปลว่า ชนะ คำว่า "โฉด" แปลว่า โง่เขลา จึงรวมกันได้ว่า "โรงเรียนวิชาชนะความโง่เขลา" [[พระพุทธเกษตรานุรักษ์]]ได้ทำป้ายชื่อตามนามพระราชทานว่า "[[โรงเรียนวิชาชำนะโฉด]]" อยู่ใต้พระลัญจกรของสมเด็จ[[พระบรมโอรสาธิราช]] เจ้าฟ้ามหาวชิราวุธสยามมกุฎราชกุมาร ในตู้ไม้บานกระจกติดตั้งที่หน้าจั่วอาคารโรงเรียนและใช่ตราพระเกี้ยวเป็นตราของโรงเรียน
 
หนังสือเฉลิมพระเกียรติ [[พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว]] เรื่อง [[วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์|วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา]] [[จังหวัดนครปฐม]] ได้กล่าว ถึงประวัติด้านการศึกษาว่า ผู้บุกเบิกการศึกษาคนแรกที่มีบทบาทในด้านการศึกษาของ[[จังหวัดนครปฐม]] คือ [[พระพุทธเกษรานุรักษ์]] พัศดีเรือนจำมณฑลนครชัยศรี [[พระพุทธเกษตรานุรักษ์]] เป็นผู้เห็นประโยชน์ทางด้านการศึกษาอย่างยิ่งได้สร้างอาคารเรียนในเรือนจำขึ้นหลังหนึ่ง เพื่อให้ความรู้ด้านหนังสือและวิชาการช่างให้แกนักโทษในเรือนจำ
 
[[พระพุทธเกษตรานุรักษ์]] เมื่อรับราชการ ตำแหน่ง พะทำมะรงเรีอนจำมณฑลนครชัยศรี ได้ทำคุณวิเศษนอกหน้าที่อย่างหนึ่ง คือ คิดตั้งโรงเรียนสอนเด็กชาวบ้านขึ้นในบริเวณชั้นนอกเรือนจำ อันเป็นที่อยู่ของพระเกษตรฯ ซึ่งสนใจและบำรุงโรงเรียนนั้นให้เจริญขึ้นโดยลำดับ มีผู้นิยมส่งเด็กเข้าเล่าเรียนมาก จนเป็นโรงเรียนใหญ่แห่งแรกใน[[จังหวัดนครปฐม|นครปฐม]] ต่อมา พ.ศ. 2452 ทางข้าราชการจะตั้งโรงเรียน "ดัดสันดาร" เพื่ออบรมเด็กที่ต้องโทษ จึงได้ซื้อที่ดินที่[[ตำบลห้วยจระเข้]] สร้างอาคาร มีห้องครัง ห้องฝึกอบรม ห้องนอน ห้องเจ้าหน้าที่ เมื่อสร้างเสร็จมีผู้กราบังคมทูลว่าโรงเรียนไม่ควรอยู่ในเมืองใกล้กรุงเทพฯ จึงย้ายไปร้างใหม่ที่[[เกาะสีชัง]] อาคารที่สร้างไว้จึงโปรดเกล้าให้เป็นที่ตั้งของ[[โรงเรียนรัฐบาล|โรงเรียรรัฐบาล]] [[กระทรวงธรรมการ]] จึงรับโอนนักเรียนจาก[[โรงเรียนวิชาขำนะโฉด]]มาเรียนแทนและใช้ชื่อว่า [[โรงเรียนตัวอย่างมณฑลนครชัยศรี]] "พระปฐมวิทยาลัย" ทำพิธีมอบนักเรียนมา และครูโรงเรียนวิชาขำนะโฉดมอบให้หมด
 
พ.ศ. 2462 ได้เปิดสอนแผนกฝึกหัดครู ต่อมาได้ยุบ เลิก หรือแยกไปที่ใดไม่ปรากฏหลักฐาน และทางโรงเรียนได้ขยายชั้นเรียนให้สูงขึ้นเรื่อยๆ จนถึงชั้น ม.6
เส้น 48 ⟶ 51:
พ.ศ. 2499 รับโอนอาคารสถานที่ซึ่งได้ให้โรงเรียนฝึกหัดครูไป กลับคืนมาและปีนี้โรงเรียนได้เปิดสอนชั้นเตรียมอุดมศึกษาขึ้นเป็นปีแรก เปลี่ยนแปลงชื่อโรงเรียนใหม่อีกครั้งว่า
 
โรงเรียนพระปฐมวิทยาลัย โดยตัดคำนำหน้าว่า นครปฐมออก และชื่อนี้เองที่ได้ใช้มาจนถึงปัจจุบันนี้
 
พ.ศ. 2504 ได้ยุบชั้น ม.1 (ยุบตามแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2503)
พ.ศ. 2505 เริ่มมีชั้นเรียนระดับ ม.ศ. 4 ตามหลักสูตรชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย พุทธศักราช 2504
พ.ศ. 2506 โรงเรียนเปิดสอนชั้น ม.ศ. 4 - ม.ศ. 5 เต็มรูป
พ.ศ. 2515 โรงเรียนได้รับอนุญาตให้เปิดโรงเรียนศึกษาผู้ใหญ่ ระดับ 5 ขึ้น เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2515
พ.ศ. 2536 ได้เปิดเป็นโรงเรียนสหศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น โดยรับนักเรียนหญิงในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เป็นปีแรก และต่อมาได้กลายเป็นโรงเรียนสหศึกษาทั้งหมด
==แผนการเรียนที่เปิดสอน==
ปัจจุบันโรงเรียนพระปฐมวิทยาลัยได้ทำการเปิดสอนในระดับชั้นมัธยมศึกษา 1-6