ผลต่างระหว่างรุ่นของ "เปรียญธรรม 3 ประโยค"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 76:
 
[[พระภิกษุ]][[สามเณร]]ผู้สอบไล่ได้ในชั้นนี้จะได้รับประกาศนียบัตร พระราชทาน[[พัดยศ]]เปรียญธรรม ทรงตั้งเป็น "เปรียญ" เมื่อผ่านการทรงตั้งแล้วถ้าเป็นพระภิกษุจะมีสิทธิ์ใช้คำนำหน้าชื่อว่า '''"[[พระมหา]]"''' ถ้าเป็น[[สามเณร]] สามารถใช้คำต่อท้าย[[นามสกุล]]ว่า '''"[[เปรียญ]]."'''
 
อนึ่ง สมณศักดิ์อันดับในงานพระราชพิธี - รัฐพิธี เหนือกว่า พระครูรองคู่สวด , พระครูสังฆรักษ์ , พระครูสมุห์ , พระครูใบฎีกา , พระวินัยธร , พระธรรมธร ,พระสมุห์, พระใบฎีกา, [[พระพิธีธรรม]] แต่ต่ำกว่า '''[https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%94&redirect=no พระปลัด]''' ฐานานุกรม ใน [[พระราชาคณะ]]ชั้นสามัญ เจ้าคณะจังหวัด และ เจ้าคณะอำเภอ.
 
การตั้งเปรียญเป็น[[สมณศักดิ์]]เกี่ยวกับความรู้ สมณศักดิ์ประเภทนี้ทรงตั้งถวายเฉพาะพระภิกษุสามเณรที่สอบได้เปรียญธรรมตั้งแต่ 3-9 ประโยค เรียกว่า ‘ทรงตั้งเปรียญ’ แต่ละประโยคมีเลขพัดยศกำกับ พระภิกษุสามเณรผู้สอบได้เปรียญธรรม 3 ประโยคขึ้นไปจะทรงพระกรุณาโปรดฯ ให้[[สมเด็จพระสังฆราช]]ทรงตั้ง โดยประทานประกาศนียบัตร พัดยศ ชื่อว่า ทรงตั้งแล้ว ส่วนผู้สอบได้ประโยค [[ป.ธ. 6]] ถึงประโยค [[ป.ธ. 9]] จะเสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานประกาศนียบัตรพัดยศ และ[[ไตรจีวร]]ด้วยพระองค์เอง ณ พระ[[อุโบสถ]][[วัดพระศรีรัตนศาสดาราม]] <ref>[http://www.watpaknam.net/pali9.php การประกอบพิธีทรงตั้งเปรียญธรรม 3 ประโยค]</ref>