ผลต่างระหว่างรุ่นของ "สถาปัตยกรรมอิสลาม"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Potapt (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Chainwit. (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
ป้ายระบุ: แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
บรรทัด 19:
[[File:Samarkand Shah-i Zinda Tuman Aqa complex cropped2.jpg|thumb|ลวดลายแบบ Girih บนกระเบื้องใน Girih at Shah-i-Zinda แห่งเมือง[[ซามาร์คันด์]], อุซเบกิสถาน]]
การตกแต่งแบบอิสลามประกอบด้วย [[ลวดลายเรขาคณิตอิสลาม]] [[ลวดลายไขว้อิสลาม]] ลวดลายดอกไม้อย่าง [[อะราเบสก์]] (arabesque) และ [[คัลลิกราฟีอิสลาม]]ที่วิจิตรและซับซ้อน ส่วนมากมักแสดงข้อความที่เกี่ยวเนื่องหรือคัดลอกมาจาก[[อัลกุรอาน]]<ref>[https://books.google.com/books?id=tA9Uuy2cSIcC&pg=PA26&dq=%22the+arabesque+is%22&hl=fr&ei=_2t2TI_dO4X54gbv5cjbBg&sa=X&oi=book_result&ct=result&resnum=6&ved=0CEYQ6AEwBQ#v=onepage&q=%22the%20arabesque%20is%22&f=false Sheila R. Canby, ''Islamic art in detail'', page 26. Harvard University Press, 2005.]</ref> ด้วยแนวคิดแบบอิสลามที่ไม่ให้บูชารูปปั้น (ขัดหลักศาสนาหรือ[[ฮะราม]]) การใช้ลวดลายต่าง ๆ รวมถึงการนำคำพูดหรือข้อความมาเขียนอย่างวิจิตรนี้จึงเข้ามาแทนที่และสร้างความสวยงามให้แทน
 
=== โครงสร้างอื่น ๆ ===
* [[มินาเร่ต์]] หรือ [[หออะซาน]]</ref name = Thai> คือหอคอย ที่ดั้งเดิมใช้จุดตะเกียงหรือสังเกตการณ์ โดยทั่วไปในปัจจุบันใช้เป็นหอคอยประกาศเรียก[[ละหมาด]] <ref name="minaret">[https://books.google.com/books?id=DBqId4J_sIAC&pg=PA128&dq=kairouan+oldest+minaret&lr=&cd=22#v=onepage&q=kairouan%20oldest%20minaret&f=false Titus Burckhardt, ''Art of Islam, Language and Meaning: Commemorative Edition'']. World Wisdom. 2009. p.128</ref><ref name="minaret"/>
* [[มิฮ์รอบ]] คือซุ้มละหมาด เป็นผนังที่ตกแต่งโดยมีไว้สำหรับบอกว่าทิศทางใดที่หันหน้าไปทาง[[นครเมกกะ]]
 
=== กิบละฮ์ ===
[[กิบละฮ์]]</ref name = Thai> ({{lang-ar|قِـبْـلَـة}}) คือทิศที่หัยหน้าไปยัง[[นครเมกกะ]] จากจุดใดก็ตามบนโลก ทิศกิบละฮ์จึงสำคัญมากในการกำหนดการวางทิศทางของการสร้างมัสยิดทั้งหลัง<ref name=":0">{{Cite journal|last=King|first=David|date=Aug 1, 1995|title=The Orientation of Medieval Islamic Religious Architecture and Cities|url=|journal=Journal for the History of Astronomy|volume=26| issue = 3|pages=253–274|via=ProQuest|bibcode=1995JHA....26..253K|doi=10.1177/002182869502600305}}</ref> เมืองอิสลามโบราณและ[[มิฮ์รอบ]] จะสร้างหันหน้าไปยังทิศนี้ แต่จากการคำนวณในความเป็นจริง ล้วนไม่ได้หันไปในทิศเดียวกันเท่าไร<ref name=":0" /> ด้วยว่าการตีความและคำนวณจากเอกสารต่าง ๆ ไม่สามารถระบุที่ตั้งของเมกกะได้อย่างชัดเจน แต่ในปัจจุบันมัสยิดส่วนมากนิยมสร้างโดยอาศัยการคำนวณและเทคโนโลยีที่แม่นยำมากขึ้น ในมัสยิดแห่งแรก ๆ บางแห่งพบการตีความทิศกิบละฮ์เป็นทิศใต้ไปโดยสิ้นเชิง โดยถือเอาว่าเป็นทิศที่[[ศาสดามูฮัมมัด]]หันหน้าขณะละหมาดจากเมือง[[เมดินา]]ซึ่งอยู่ทางเหนือของเมกกะ<ref name=":0" />
 
== อ้างอิง ==