ผลต่างระหว่างรุ่นของ "90377 เซดนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 38:
'''90377 เซดนา''' ({{lang-en|Sedna}}) เป็น[[ดาวเคราะห์น้อย]]ขนาดใหญ่ใน[[เซดนอยด์|บริเวณส่วนนอกของระบบสุริยะ]] ถึงปี พ.ศ. 2558 เซดนาอยู่ห่างจากดวงอาทิตย์ 86 [[หน่วยดาราศาสตร์]] (1.29 × 10<sup>10</sup> กิโลเมตร) ซึ่งอยู่ห่างออกไปมากกว่า[[ดาวเนปจูน]]เกือบสามเท่า กระบวนการ[[สเปกโทรสโกปี]]เปิดเผยว่าพื้นผิวของเซดนามีองค์ประกอบคล้ายกับ[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน]]อื่น ๆ บางชิ้น โดยเป็นส่วนผสมของ[[น้ำ]] [[มีเทน]] และ[[ไนโตรเจน]][[สารระเหย|แข็ง]]กับ[[โทลีน]]จำนวนมาก ผิวของเซดนาเป็นหนึ่งในผิวดาวที่มี[[วัตถุพ้นดาวเนปจูน|สีแดงมากที่สุด]]ท่ามกลางวัตถุอื่นในระบบสุริยะ เซดนา[[รายชื่อวัตถุที่อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ|อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ]] ในบรรดาวัตถุพ้นดาวเนปจูนทั้งแปดที่ใหญ่ที่สุด เซดนาเป็นวัตถุเดียวที่ไม่พบดาวบริวาร<ref name="PorterTwitter"/><ref name = "Lakdawalla2016a"/>
 
วงโคจรส่วนใหญ่ของเซดนาอยู่ไกลออกจากดวงอาทิตย์ไปมากกว่าตำแหน่งปัจจุบัน ซึ่งคาดว่าตำแหน่งที่ไกลจากดวงอาทิตย์มากที่สุดจะอยู่ห่างออกไปถึง 937 หน่วยดาราศาสตร์ (AU)<ref name="barycenter"/> (31 เท่าของระยะของดาวเนปจูน) ทำให้มันเป็นวัตถุหนึ่งที่ไกลที่สุดใน[[ระบบสุริยะ]] นอกเหนือจาก[[ดาวหางคาบยาว]]{{refn|1={{As of|2014}} เซดนาอยู่ที่ประมาณ 86.3&nbsp;[[หน่วยดาราศาสตร์|AU]]จากดวงอาทิตย์<ref name="AstDys" /> อีรีส ดาวเคราะห์แคระที่มีมวลมากที่สุด และ {{mpl-|225088|2007 OR|10}} วัตถุที่ใหญ่ที่สุดในระบบสุริยะที่ไม่มีชื่อ ขณะนี้อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากกว่าเซดนาที่ 96.4&nbsp;AU และ 87.0&nbsp;AU ตามลำดับ<ref name="AstDys-Eris" /> อีริสอยู่ใกล้กับจุดที่ไกลที่สุด (อยู่ห่างจากดวงอาทิตย์มากที่สุด) ขณะที่เซดนากำลังเข้าใกล้[[จุดปลายระยะทางวงโคจร|จุดที่ใกล้ที่สุด]]ปี 2619 (อยู่ใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด)<ref name="Horizons2076" /> เซดนาจะแซงอีริส กลายเป็นวัตถุที่ไกลที่สุดในระบบสุริยะในปี 2657 แต่วัตถุที่[[รายชื่อวัตถุที่อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ|อาจเป็นดาวเคราะห์แคระ]]อย่าง {{mpl-|225088|2007 OR|10}} แซงเซดนาไปได้ไม่นาน และจะแซงอีริสในปี 2588<ref name="Horizons2076" />|group=lower-alpha}}<ref group=lower-alpha name=footnoteF>ดาวเคราะห์แคระที่เป็นไปได้อย่าง [[2014 FE72]] มีคาบการโคจรอยู่ที่ ~90,000 ปี และ[[วัตถุระบบสุริยะขนาดเล็ก]] เช่น {{mpl|(308933) 2006 SQ|372}}, {{mpl|2005 VX|3}}, {{mpl|(87269) 2000 OO|67}}, {{mpl|2002 RN|109}}, {{mpl|2007 TG|422}} และดาวหางหลายดวง (เช่น [[ดาวหางใหญ่แห่งปี พ.ศ. 2120]]) มีวงโคจรที่ใหญ่กว่าเช่นกัน สำหรับประเภทหลัง เฉพาะ {{mp|(308933) 2006 SQ|372}}, {{mp|(87269) 2000 OO|67}}, และ {{mp|2007 TG|422}} มีจุดใกล้ที่สุดอยู่ไกลกว่าวงโคจรดาวพฤหัสบดี ดังนั้นมันจึงเป็นข้อถกเถียงกันว่าวัตถุเหล่านี้อาจเป็นดาวหางที่ถูกจัดผิดหมวดหมู่</ref>
 
เซดนามีวงโคจรที่ยาวและยืดเป็นพิเศษ ทำให้มันต้องใช้ระยะเวลากว่า 11,400 ปีถึงจะโคจรครบหนึ่งรอบ และที่ตำแหน่งใกล้ดวงอาทิตย์มากที่สุด คือ 76 หน่วยดาราศาสตร์ สิ่งนี้นำมาสู่ความคิดเกี่ยวกับต้นกำเนิดของเซดนา [[ศูนย์ดาวเคราะห์น้อย]]จัดเซดนาให้อยู่ใน[[แถบหินกระจาย]] ซึ่งเป็นกลุ่มของวัตถุที่มีวงโคจรยืดยาวออกไปไกลเนื่องด้วยแรงโน้มถ่วงจากดาวเนปจูน ถึงกระนั้น การจัดให้เซดนาอยู่ในแถบหินกระจายก็ยังเป็นข้อถกเถียง เพราะตำแหน่งที่ใกล้ที่สุดของเซดนา ก็ยังคงอยู่ห่างจากดาวเนปจูนออกไปมากเกินกว่าที่จะมีผลกระทบต่อกันได้ ทำให้นักดาราศาสตร์บางคนเชื่อว่าเซดนาเป็นวัตถุหนึ่งใน[[เมฆออร์ต]]ชั้นใน แต่บางคนก็เชื่อว่าเซดนามีวงโคจรที่ยืดยาวแบบนี้เนื่องด้วยดาวฤกษ์ที่เฉียดผ่านเข้ามาใกล้ บางทีอาจเป็นหนึ่งในดาวของกระจุกดาวของดวงอาทิตย์ตอนเกิด ([[กระจุกดาวเปิด]]) หรือมันอาจถูกจับยึดโดยระบบดาวเคราะห์อื่น สมมติฐานอีกอย่างหนึ่งเสนอว่า วงโคจรของมันได้รับผลกระทบจาก[[ดาวเคราะห์พ้นดาวเนปจูน|ดาวเคราะห์ขนาดใหญ่ดวงหนึ่งที่พ้นวงโคจรดาวเนปจูน]]<ref name="Mike"/>