ผลต่างระหว่างรุ่นของ "90377 เซดนา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
Boom1221 (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 53:
== วงโคจรและการโคจร ==
[[ไฟล์:Sedna solar system Jan1 2017.png|thumb|left|วงโคจรของเซดนาเมื่อเทียบกับวงโคจรของวัตถุระบบสุริยะชั้นนอก (ภาพจากด้านบนและด้านข้าง วงโคจรดาวพลูโตเป็นสีม่วงและวงโคจรดาวเนปจูนเป็นสีน้ำเงิน)|alt=The orbit of Sedna lies well beyond these objects, and extends many times their distances from the Sun]]
เซดนาเป็นวัตถุที่มีคาบการโคจรที่ยาวนานที่สุดในระบบสุริยะ<ref group=lower-alpha name=footnoteF /> ซึ่งคำนวณแล้ว อยู่ที่ 11,400 ปี<ref name="barycenter" /><ref group=lower-alpha name=footnoteG /> วงโคจรของมันมีความเยื้องสูงมาก ด้วยระยะห่างจุดไกลที่สุดจากดวงอาทิตย์ไกลที่สุดอยู่ที่ 937 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="barycenter" /> และจุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดอยู่ที่ 76 หน่วยดาราศาสตร์ โดยตำแหน่งที่ใกล้ที่สุดของเซดนา ดนาอยู่ไกลกว่าของวัตถุอื่นๆในระบบสุริยะ จนกระทั่งการค้นพบ [[2012 VP113|2012 VP<sub>113</sub>]]<ref name="Trujillo2007" /><ref name="Trujillo2014" /> ณ จุดไกลที่สุดนั้น เซดนาโคจรด้วยความเร็วเพียงแค่ 1.3% ของความเร็วที่โลกโคจร เมื่อเซดนาถูกค้นพบนั้น มันอยู่ที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์ 89.6 หน่วยดาราศาสตร์<ref name="AstDys2003"/> และกำลังขณะเคลื่อนที่เข้าใกล้จุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด และกลายเซดนากลายเป็นวัตถุที่ไกลที่สุดในระบบสุริยะเท่าที่สำรวจพบ ภายหลัง [[อีริส]]ได้แซงเซดนาไป เมื่ออีรีสถูกตรวจพบโดยวิธีเดียวกันที่ระยะห่าง 97 หน่วยดาราศาสตร์จากดวงอาทิตย์ มีเพียงดาวหางคาบยาวบางดวงเท่านั้นที่มีคาบโคจรมากกว่าของเซดนา และยากต่อการดาวหางเหล่านี้จางเกินไปที่จะถูกค้นพบมาก เว้นแต่มันจะเคลื่อนผ่านเข้ามาในระบบสุริยะชั้นใน ถึงแม้ว่าเซดนาจะอยู่ ณ ตำแหน่งที่จุดใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดในช่วงกลางปี พ.ศ. 2619<ref name="Horizons2076" />{{refn|1=โปรแกรมที่ระบบการทำงานแตกต่างกัน ก็อาจทำให้ได้ข้อมูลที่แตกต่างกันด้วย โดยใช้ตำแหน่งในปี พ.ศ
2557 ได้ข้อมูลเป็นปี พ.ศ. 2619<ref name="jpldata" /> ถ้าใช้ตำแหน่งในปี พ.ศ. 2533 ได้ข้อมูลเป็น [http://www.boulder.swri.edu/~buie/kbo/astrom/90377.html 2479282.9591] [http://ssd.jpl.nasa.gov/tc.cgi (2075-12-11)] {{As of|2010}} หรือประมาณวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2619<ref name="Horizons2076" />|name=footnoteC|group=lower-alpha}} ดวงอาทิตย์ที่ปรากฏบนเซดนานั้น ก็ยังคงดนานั้นอาจมีขนาดเท่าปลายเข็ม ซึ่งสว่างกว่า[[ดวงจันทร์]]ตอนเต็มดวง 100 เท่า (เมื่อเทียบกับโลกแล้ว ดวงอาทิตย์ที่เห็นบนโลกสว่างกว่าตอนดวงจันทร์เต็มดวง 400,000 เท่า) และดวงอาทิตย์ยังอยู่ไกลเกินกว่าที่จะเห็นเป็นรูปร่างได้<ref name="HubbleSite2004image" />
 
เมื่อค้นพบครั้งแรกนั้น คาดว่าเซดนาถูกคาดว่าจะมีคาบหมุนรอบตัวเองที่ยาวมากๆนานมาก ๆ (20 ถึง 50 วัน)<ref name="HubbleSite2004image" /> เนื่องจากมันอาจถูกดึงให้ตอนแรกเชื่อกันว่าการหมุนรอบตัวเองของเซดนาช้าลงโดยระบบดาวเคราะห์บางระบบที่อยู่บริเวณนั้นเป็นผลมาจากแรงโน้มถ่วงจากดาวบริวารขนาดใหญ่ เช่นเดียวคล้ายกับ [[แครอน]] ดาวบริวารของ[[ดาวพลูโต]]<ref name="mikebrown" /> การสำรวจโดยค้นหาดาวบริวารดวงนั้นด้วยกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลในปีเดือนมีนาคม พ.ศ. 2547 ไม่พบอะไรเลย<ref name="HubbleSite2004" />{{refn|1=การสำรวจของกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลพบว่าไม่มีดาวดวงใดที่มัวน้อยกว่า 500 เท่าของเซดนาเลย (บราวน์และซูเอร์ 2007).<ref name="largest" />|group=lower-alpha}} และจากผลการสำรวจคำนวณจากกล้องโทรทรรศน์เอ็มเอ็มที ก็ทำให้คำนวณได้ในเวลาต่อมาพบว่า เซดนาหมุนโดยใช้ระยะเวลาสั้นกว่าที่คาดไว้มาก ประมาณ 10 ชั่วโมง ซึ่งค่อนข้างปกติสำหรับดาวขนาดอย่างเซดนา<ref name="Gaudi2005" />
 
{{TNO-distance}}