ผลต่างระหว่างรุ่นของ "แอนนา ลีโอโนเวนส์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
บรรทัด 35:
ตาของเธอชื่อ วิลเลียม วอเดรย์ กลาสคอตต์ ({{lang-en|William Vawdrey (Vaudrey) Glascott}}) เป็นทหารสัญญาบัตรชาวอังกฤษประจำกองพลทหารราบที่ 4 ในค่ายทหารเมืองบอมเบย์ เขาอพยพเข้ามาสู่อินเดียตั้งแต่ปี ค.ศ. 1810<ref>Morgan, ''Bombay Anna'', pp20, 241.</ref> และสมรสในปี ค.ศ. 1815 กับสตรีไม่ปรากฏนาม<ref>Morgan, ''Bombay Anna'', pp23-24, 28.</ref> หากอ้างอิงตามงานเขียนของซูเซิน มอร์แกน ก็เป็นคำอธิบายที่ขาดความสมบูรณ์ ภรรยาของกลาสคอตต์ ตามบันทึกของทางการอังกฤษระบุว่านาง ''"ไม่ใช่ชาวยุโรป"''<ref>Morgan, ''Bombay Anna'', p23.</ref> และมอร์แกนแสดงความเห็นว่า ''"มีแนวโน้มเป็นอย่างมากที่จะเป็น...แองโกล-อินเดีย (ลูกผสมจากหลายเชื้อชาติ) ที่เกิดในอินเดีย"''
 
(ในภายหลังได้ปกปิดตัวตนและเปลี่ยนนามสกุลเป็นโครวฟอร์ด (Crawford) และอ้างว่าตนเองมีเชื้อสายมาจากเวลส์ ในสหราชอาณาจักร และอ้างว่าบิดามียศเป็นร้อยเอก เพื่อเป็นการเปิดโอกาสให้แอนนาและลูกๆลูก ๆ ของเธอได้รับการปฏิบัติอย่างชนผิวขาว)
 
พอมีอายุได้ 18 ปีแอนนาแต่งงานกับเจ้าหน้าที่เสมียนชาวอังกฤษ นามว่าโธมัส ลีออน โอเวนส์ (ภายหลังแอนนาได้รวบชื่อกลางและนามสกุลของสามีเข้าด้วยกัน กลายเป็น "ลีโอโนเวนส์") ทั้งคู่มีบุตรธิดารวม 4 คน สองคนแรกเสียชีวิตตั้งแต่เล็ก คนที่ 3 เป็นหญิงชื่อเอวิส และคนสุดท้องเป็นชายชื่อ [[หลุยส์ ที. ลีโอโนเวนส์]] (ซึ่งต่อมาได้ตั้งบริษัท หลุยส์ ลีโอโนเวนส์ ในเมืองไทย)
บรรทัด 55:
 
=== สู่ตะวันตก ===
ปี [[พ.ศ. 2410]] แอนนาในวัย 36 ปีได้ออกเดินทางจากกรุงเทพมหานครไปสหรัฐอเมริกา โดยระหว่างทางแวะพักที่[[อังกฤษ]]และ[[ไอร์แลนด์]] แอนนาใช้ชีวิตอยู่ที่รัฐ[[นิวยอร์ก]]รวมเป็นเวลา 11 ปี ซึ่งที่นี่เองนางได้เริ่มต้นชีวิตของการเป็น[[นักเขียน]]ด้วยการส่งต้นฉบับไปลงเป็นตอนๆตอน ๆ ใน[[นิตยสาร]]ชื่อ Atlantic Monthly จนผลสุดท้ายได้รับการตีพิมพ์ กลายเป็นหนังสือรวมเล่มเกี่ยวกับชีวิตแอนนาในพระราชสำนักสยาม
 
เมื่อมีอายุได้ 47 ปี แอนนาย้ายถิ่นฐานจาก[[สหรัฐอเมริกา]] ตามลูกสาวคือเอวิสและลูกเขย โธมัส ฟิช ไปยังเมือง[[แฮลิแฟกซ์]] [[ประเทศแคนาดา]] ซึ่งในเวลาต่อมานางมีส่วนสำคัญในการก่อตั้งสถาบันการศึกษา Victoria School of Art and Design (ปัจจุบันเปลี่ยนเป็น Nova Scotia College of Art and Design) เพื่อเฉลิมฉลองพระราชวโรกาสเถลิงถวัลย์ราชสมบัติครบ 50 ปีของ[[สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย แห่งสหราชอาณาจักร|สมเด็จพระนางเจ้าวิกตอเรีย]]แห่งอังกฤษ นอกจากนี้นางยังมีบทบาทด้านสตรีภายในท้องถิ่นเป็นอย่างมาก
บรรทัด 96:
 
[[สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ]] ทรงมีความเห็นเกี่ยวกับหนังสือ 2 เล่มนี้ว่า
{{คำพูด|''แหม่มแอนนาอาจมีความจำเป็นต้องหาเงินมาเลี้ยงลูก จึงปรุงแต่งเรื่องราวขึ้นให้มีรสชาติพอที่จะขายสำนักพิมพ์ได้ ตอนที่นางสอนหนังสืออยู่ในราชสำนักก็มิได้มีอิทธิพลมากมายถึงขนาดที่พระเจ้าอยู่หัวจะต้องไปใส่พระทัยรับฟัง เป็นไปได้ว่าสิ่งที่นางเขียนออกมานั้น ก็คือเรื่องที่ต้องการถวายความเห็นเป็นการย้อนหลัง เพราะจริงๆจริง ๆ แล้วไม่เคยมีโอกาสได้พูดออกมาเลย''}}<nowiki> </nowiki><ref>[[จีระนันท์ พิตรปรีชา]]. ลูกผู้ชายชื่อนายหลุยส์. ประพันธ์สาส์น, 2542.</ref>
 
=== เรื่องจริงหรือเรื่องเท็จ ===
แอนนาถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าโป้ปดมดเท็จ บิดเบือนเรื่องที่เขียนในหนังสือทั้ง 2 เล่ม นักวิชาการหลายท่านได้ตรวจสอบความจริงหลักฐาน ไม่ได้จำกัดอยู่เพียงหนังสือ 2 เล่มเท่านั้น ยังลุกลามไปถึงสิ่งที่แอนนาไม่ได้เขียน จาก[[นิยาย]]ที่มาร์กาเร็ตแต่งขึ้นเพิ่มเติมภายหลัง ทำให้แหม่มแอนนาถูกโจมตีอย่างหนักว่าปั้นแต่งเรื่องราวโกหกเกี่ยวกับราชสำนักสยาม หมิ่นพระเกียรติ[[พระมหากษัตริย์]]ไทย รวมทั้งสร้างประวัติเท็จให้ตนเองทั้งทางด้าน สถานที่เกิด สีผิว และอื่นๆอื่น ๆ
 
[[ชีวประวัติ]]ของแหม่มแอนนาที่ W.S. Bristowe กล่าวหาว่าโป้ปดขึ้นนั้น ปรากฏอยู่ใน[[นวนิยาย]]เรื่อง The King and I ซึ่งเป็น "นิยาย" ที่มาร์กาเร็ตแต่งขึ้นเพิ่มเติมภายหลัง ดังที่ Bristowe เขียนไว้ว่า "ประวัติแหม่มแอนนาที่เล่ามา ล้วนได้จากบันทึกของเธอเอง ซึ่งมาร์กาเร็ต แลนดอน นำมาเรียบเรียงขึ้นใหม่" มิได้มีอยู่ในหนังสือทั้ง 2 เล่มของแหม่มแอนนาแต่อย่างใด ในหนังสือของแหม่มแอนนาเองแทบจะไม่มีข้อความที่กล่าวถึงชีวประวัติของตนเองเลย <ref>[http://www.matichon.co.th/art/art.php?srctag=0643010247&srcday=2005%2F09%2F01&search=no ศิลปวัฒนธรรม: ปอกเปลือกชีวิต แอนนา เลียวโนเวนส์ ใครว่าหล่อนตอแหล]</ref>
บรรทัด 112:
* [http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=4795299879311 ก่อนหน้านี้: ปฐมฤกษ์ละครบรอดเวย์ “เดอะคิงแอนด์ไอ”]
* [http://www.imdb.com/title/tt0049408/ ภาพยนตร์เดอะคิงแอนด์ไอ]จาก Imdb.com
</div>
 
== แหล่งข้อมูลอื่น ==