ผลต่างระหว่างรุ่นของ "วชิรพยาบาล"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
BotKung (คุย | ส่วนร่วม)
เก็บกวาดบทความด้วยบอต
บรรทัด 34:
วชิรพยาบาลได้เจริญสืบมาเป็นลำดับ โดยในปี พ.ศ. 2528 ได้รับอนุมัติจากคณะรัฐมนตรี [[พลเอกเปรม ติณสูลานนท์]] นายกรัฐมนตรีในขณะนั้น ให้เป็นแหล่งศึกษาชั้นคลินิกของนิสิตแพทย์ [[คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ]] และ ในปี พ.ศ. 2536 [[กรุงเทพมหานคร (องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น)|กรุงเทพมหานคร]]ได้จัดตั้ง '''วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร''' ขึ้นโดยให้วชิรพยาบาลเป็นแหล่งศึกษาชั้นคลินิกนักศึกษาแพทย์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2541 จึงได้มีการปรับปรุงโครงสร้างใหม่ โดยได้รวม "วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานคร" และ "วชิรพยาบาล" เข้าเป็นหน่วยราชการเดียวกันในชื่อ "วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล"
 
ในปี พ.ศ. 2553 ได้มีประกาศราชกิจจานุเบกษา จัดตั้งมหาวิยาลัยมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2553/A/069/1.PDF พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร]</ref> ซึ่งในต่อมาได้รับพระราชทานนามมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช<ref>[http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2556/A/053/1.PDF พระราชบัญญัติเปลี่ยนชื่อมหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานครเป็นมหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]</ref> จาก[[พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช|พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดลุยเดช]] วิทยาลัยแพทยศาสตร์กรุงเทพมหานครและวชิรพยาบาล จึงเปลี่ยบนสถานะเป็น "[[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช|คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]]" โดยมีวชิรพยาบาลเป็น[[โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย]]ในสังกัด[[คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช|คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล]] [[มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช]]
 
[[ไฟล์:Vajira Hospital.png|thumb|right|อาคารอำนวยการและอาคารเพชรรัตน