ผลต่างระหว่างรุ่นของ "การปฏิรูปศาสนาฝ่ายโปรเตสแตนต์"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Cuteystudio (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 7:
มีเหตุการณ์หลายประการที่เป็นต้นเหตุเกิดการเปลี่ยนแปลง และปฏิรูป[[ศาสนาคริสต์]]ครั้งใหญ่ในช่วง [[ศตวรรษ|คริสต์ศตวรรษ]]ที่ 16
 
# สถาบันสันตะปาปาตกอยู่ใต้อำนาจของสถาบัน[[พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศส]]ระหว่าง ค.ศ. 1305-1375 ที่เรียกว่า”ว่า ”การคุมขังแห่งบาบิโลเนีย" หรืออาวีญง ทำให้สถาบันฯ เสื่อมอำนาจและความศักดิ์สิทธิ์ และเป็นชนวนให้ผู้ใฝ่ในศาสนาดิ้นรนที่จะศึกษาถึงแก่นแท้ของคำสอน เกิดเป็นขบวนการการศึกษาภาษาฮีบรูและกรีกโดยมีศูนย์ที่เมืองฟลอเรนซ์ และมีการค้นคว้าศึกษาวิจัยคัมภีร์ไบเบิลอย่างมากมายเพื่อให้ได้มาซึ่งสัจจะในคำสอน การได้ศึกษาพระคัมภีร์ด้วยตัวเองทำให้นักคิดชั้นนำสามารถวิจารณ์โจมตีสถาบันศาสนาได้อย่างเต็มที่
# การพัฒนาของเทคโนโลยีการพิมพ์ แบบเรียงพิมพ์ทำให้มีการแปลพระคัมภีร์เป็นภาษาต่างๆต่าง ๆ และตีพิมพ์อย่างแพร่หลาย ซึ่งทำให้ประชาชนทั่วไปได้มีโอกาสศึกษาคัมภีร์ไบเบิลได้ด้วยตัวเอง และไม่จำเป็นต้องเชื่อฟังบาทหลวง บิชอป หรือสภาสังคายนาที่จะวินิจฉัยวางหลักการอย่างไรก็ต้องยอม
## อีราสมัส (Desiderius Erasmus ค.ศ. 1466-1563) แปลพระคัมภีร์ฉบับกรีกเพื่อเผยแพร่ทั่วไป
## บิชอปซิเมเนส (Ximenes) เป็นผู้ควบคุมจัดทำคัมภีร์ไบเบิลฉบับสมรวม (The Polyglot Bible)
บรรทัด 16:
 
== การปฏิรูปศาสนา (Protestant Reformation) ==
การปฏิรูปศาสนาของนิกายโปรเตสแตนต์ เกิดขึ้นในคริสต์ศตวรรษที่ 16 และเสร็จสิ้นลงด้วยสนธิสัญญาสันติภาพเวสต์ฟาเลีย ค.ศ. 1648 ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 กระแสใหญ่ๆใหญ่ ๆ คือ
# การปฏิรูปภายนอกที่แบ่งศาสนาคริสต์ออกเป็น 2 นิกายคือ โรมันคาทอลิก และโปรเตสแตนต์
# การปฏิรูปภายใน ที่แก้ไขความเสื่อมโทรมของศาสนา และสถาบันสันตะปาปา เพื่อต่อสู้ไม่ให้ชาวยุโรปหันไปนิยมนิกายโปแตสแตนต์ที่เกิดขึ้นใหม่
บรรทัด 31:
== ผลของการปฏิรูปศาสนา ==
;ทางการเมือง
: การปฏิรูปศาสนาได้ทำให้พวกที่ไม่ต้องการระเบียบแบบแผน และพวกที่มีความคิดเห็นรุนแรงทางศาสนาก่อการจลาจลวุ่นวายขึ้นเรียกว่า”ว่า ”กบฏชาวนา” ในปี ค.ศ. 1525 ที่โบฮีเมีย มีทั้งกลุ่มอัศวินต่อสู้กับเจ้านายของตน และพวกชาวนาที่ก่อการปฏิวัติต่อเจ้าของที่ดินโดยต่างยื่นข้อเสนอเรียกร้องสิทธิของตน และกำหนดกฎเกณฑ์เอาตามใจชอบ บ้างก็ขอเสรีภาพในการถือศาสนา ดังนั้นลูเทอร์จึงได้ลุกขึ้นมาสอนให้ประชาชนเคารพประมุข และกฎหมายของรัฐ และต่อต้านการจลาจล โดยถือว่าประมุขของรัฐมีอำนาจอันชอบธรรมในสายตาของศาสนา ที่จะดำเนินการเด็ดขาดกับขบวนการเหล่านี้ เพราะฉะนั้นคำสอนของลักธิลูเทอรันส่งเสริมอำนาจชนชั้นปกครอง
 
;ทางศาสนา