ผลต่างระหว่างรุ่นของ "จิญจมาณวิกา"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
ลบ สระ า
ป้ายระบุ: การแก้ไขแบบเห็นภาพ แก้ไขจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ แก้ไขจากเว็บสำหรับอุปกรณ์เคลื่อนที่
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 1:
{{Infobox religious biography
|name = จิญจมาณวิกา
|image = ไฟล์:Buddha with Cincamanavika.jpg
|image_size = 250
|caption = จิญจมาณวิกาขณะกล่าวให้ร้ายพระพุทธเจ้าต่อหน้าธารกำนัล ภาพศิลปะลาว
|religion = เดียรถีย์
|known_for =
|alma_mater =
|other_names =
|nationality =
|birth_place =
|death_place = [[สาวัตถี]] [[แคว้นโกศล]]
|profession =
|parents =
}}
 
'''จิญจมาณวิกา''' หรือโดยย่อว่า '''จิญจา''' เป็นสตรีที่เชื่อว่ามีชีวิตอยู่ใน[[พุทธกาล]] โดยใน[[พระไตรปิฎก]]กล่าวว่านางได้ให้ร้าย[[พระโคตมพุทธเจ้า]] ต่อหน้าคนจำนวนมากว่า ทำให้นางตั้งครรภ์ ด้วยความที่นางมีความคือ ''''''จิญจมาณวิกา'''''' ฉลาดในมารยาทของหญิง นับถือ ศรัทธาลัทธิเดียรถีย์ มีเจตนาเพื่อทำลายพระพุทธเจ้าจึงเดินเข้าออกวัดเชตวันอยู่เสมอ ทำทีเหมือนอยู่ในพระเชตวัน แต่แท้จริงแล้วนางอยู่ในวัดเดียรถีย์ใกล้เคียง โดยกาลล่วงไป 8-9 เดือน ผูกไม้กลมไว้ที่ท้องห่มผ้าทับข้างบน ให้ทุบหลังมือและเท้าด้วยไม้คางโค แสดงอาการบวมขึ้น มีอินทรีย์บอบช้ายอมตนกล่าวตู่พระพุทธเจ้าในท่ามกลางหมู่ชน ภายหลังนางจึงถูกแผ่นดินสูบ <ref>พระศรีคัมภีรญาณ,รศ.ดร.และคณะ . (2557). พจนานุกรมพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย = Thai Tipitaka Dictionary Mahachulalongkornrajavidyalaya University.กองวิชาการ สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หน้า 1009</ref>
[[ไฟล์:Buddha with Cincamanavika.jpg|250px|right|thumb|ศิลปะลาว แสดงภาพจิญจมาณวิกากำลังให้ร้ายพระโคตมพุทธเจ้าท่ามกลางธารกำนัล]]
'''จิญจมาณวิกา''' เป็นสตรีที่เชื่อว่ามีชีวิตอยู่ใน[[พุทธกาล]] โดยใน[[พระไตรปิฎก]]กล่าวว่านางได้ให้ร้าย[[พระโคตมพุทธเจ้า]] ต่อหน้าคนจำนวนมากว่า ทำให้นางตั้งครรภ์ ความคือ ''''''จิญจมาณวิกา'''''' ฉลาดในมารยาทของหญิง นับถือ ลัทธิเดียรถีย์ มีเจตนาเพื่อทำลายพระพุทธเจ้าจึงเดินเข้าออกวัดเชตวันอยู่เสมอ ทำทีเหมือนอยู่ในพระเชตวัน แต่อยู่ในวัดเดียรถีย์ใกล้เคียง โดยกาลล่วงไป ๘ - ๙ เดือน ผูกไม้กลมไว้ที่ท้องห่มผ้าทับข้างบน ให้ทุบหลังมือและเท้าด้วยไม้คางโค แสดงอาการบวมขึ้น มีอินทรีย์บอบช้ายอมตนกล่าวตู่พระพุทธเจ้าในท่ามกลางหมู่ชน ภายหลังถูกแผ่นดินสูบ <ref>พระศรีคัมภีรญาณ,รศ.ดร.และคณะ . (2557). พจนานุกรมพระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย = Thai Tipitaka Dictionary Mahachulalongkornrajavidyalaya University.กองวิชาการ สานักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หน้า 1009</ref>
 
ดังมีในพุทธชัยมงคลปราฏเป็นหลักฐานในบทสวด "พาหุง" บทที่ 5 ความว่า
 
'''"กตฺวาน กฎฺฐมุทรํ อิว คพฺภินียา  จิญฺจาย ทุฏฺฐวจนํ ชนกายมชฺเฌ สนฺเตน โสมวิธินา ชิตวา มุนินฺโท  ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ''
สนฺเตน โสมวิธินา ชิตวา มุนินฺโท  ตนฺเตชสา ภวตุ เต ชยมงฺคลานิ"'''
 
แปลว่า '''"นางจิญจมาณวิกาใช้ไม้มีสัณฐานกลมใส่ที่ท้อง ทำอาการประหนึ่งว่ามีครรภ์ เพื่อกล่าวร้ายพระพุทธเจ้า พระจอมมุนีก็เอาชนะได้ด้วยวิธีสงบระงับพระทัยในท่ามกลางหมู่คน ด้วยเดชะอันนี้ ขอชัยมงคลจงมีแก่เรา"'''
 
ด้วยผลกรรมที่ใส่ร้ายพระศาสดา เมื่อออกจากวัดพระเชตวัน นางจึงถูกธรณีสูบลง[[อเวจีมหานรก]] สถานที่ที่นางถูกธรณีสูบอยู่ที่สระโบกขรณี ติดกับสถานที่ที่[[พระเทวทัต]]ถูกธรณีสูบ ดังคำในจิญจมาณวิกาวัตถุ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า บุคคลผู้ล่วงละเมิดธรรมอย่างหนึ่ง ผู้มักกล่าวเท็จ ปฏิเสธปรโลก จะไม่ทำบาปไม่มี <ref> (ขุ.ธ.(ไทย) ๒๕/๑๗๖/๘๘),</ref>
เส้น 16 ⟶ 29:
หลักฐานในคัมภีร์อรรถกถาธรรมบทมีว่า
 
'''พระพุทธเจ้า'''ขณะประทับที่ เชตุวันเชตวันมหาวิหาร นครสาวัตถี เผยแผ่พระพุทธศาสนาจนเป็นที่ศรัทธาแก่มหาชนอย่างมาก ทำให้เกิดลาภสักการะในพระพุทธศาสนาอย่างมาก นักบวชในศาสนาอื่น ๆ ก็ได้รับผลกระทบเสื่อมลาภ ผู้คนนับถือน้อยลง เกิดความอิจฉา และคิดจะกำจัดพระพุทธเจ้าเสีย จึงคิดอุบาย โดยส่งสาวงามชื่อว่า "จิญจมาณวิกา" ให้ไปใช้กลอุบายตามที่พวกตนวางไว้ <ref> [ขุ.ธ.อ. หรือขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา (บาลี) เล่มที่ ๑ ข้อ ๑๔๕ หน้า ๑๓๘-๙/จิญฺจมาณวิกาวตฺถุ]</ref>
 
'''นางจิญจมาณวิกา'''ญจมาณวิกาทำทีเป็นศรัทธาในพุทธศาสนาศาสน จึงไปยังวัดพระเชตุวันมหาวิหาร ร่วมฟังธรรมพร้อมกับคนอื่น ๆ แต่พอถึงเวลากลับ ไม่กลับ ทำทีเดินลับหายไปยังที่ ๆ พระพุทธเจ้าประทับแล้วแอบออกไปทางอื่น พอรุ่งเช้านางมาวัดแต่เช้ามืดแล้วไปแอบซุ่มบริเวณที่ประทับ พอผู้คนมาฟังการแสดงธรรมนางก็จะแกล้งเดินออกไปเป็นกลลวงให้ใคร ๆ เห็น และเข้าใจว่านางค้างคืนที่วัด <ref>[ขุ.ธ.อ. หรือขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา (บาลี) เล่ม ๑/ข้อ ๑๔๕/หน้า ๑๓๙]</ref>
 
ผ่านไป ๓ เดือน นางได้นำผ้ามาพันผูกท้องให้นูนแล้วนุ่งผ้าปิดทับเอาไว้ให้แลดูคล้ายตั้ง ครรภ์อ่อนๆ พอถึงเดือนที่ ๘ นางก็นำท่อนไม้มาพันผ้าผูกให้แลดูเหมือนตั้งครรภ์แก่ใกล้คลอด
เส้น 24 ⟶ 37:
วันหนึ่งขณะที่พระพุทธเจ้ากำลังแสดงธรรม นางจิญจมาณวิกา ก็ทำทีเป็นหญิงท้องแก่เดินอุ้ยอ้ายเข้าไปยืนตรงหน้าที่ประทับพร้อมกับกล่าว เสียงดังให้ทุกคนได้ยิน
 
'''"ท่านสมณะ ท่านจะมาเสแสร้งนั่งแสดงธรรมจอมปลอมหลอกลวงผู้คนไปไย ด้วยเวลานี้ท้องฉันนั้นได้โตใหญ่จนยากจะปกปิดความลับระหว่างเราทั้งสองได้อีกต่อไปแล้ว ท่านจงหันมาไยดีในตัวฉันซึ่งเป็นภรรยา และบุตรในครรภ์ฉัน ซึ่งเป็นลูกของท่านจะดีกว่า"''' <ref> [ขุ.ธ.อ. หรือขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา (บาลี) เล่ม ๑/ข้อ ๑๔๕/หน้า ๑๓๙]</ref>
 
'''พระพุทธองค์ทรงหยุดแสดงธรรมและกล่าวกับนางว่า'''
 
'''“ดูก่อนน้องหญิง เรื่องนี้เจ้ากับเราสองคนเท่านั้นรู้กันว่าจริงหรือไม่จริงตามคำของนาง”''' <ref> [ขุ.ธ.อ. หรือขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา (บาลี) เล่ม ๑/ข้อ ๑๔๕/หน้า ๑๓๙] </ref> จิญจมาณวิกาจึงตอบว่า '''“จริงทีเดียว เพราะการที่ข้าพเจ้ามีครรภ์ขึ้นนี้ มีแต่ท่านกับข้าพเจ้าเท่านั้นที่รู้กัน”''' <ref> [ขุ.ธ.อ. หรือขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา (บาลี) เล่ม ๑/ข้อ ๑๔๕/หน้า ๑๓๙] </ref>
 
ผู้คนที่นั่งฟังธรรมได้ยิน นางจิญจมาณวิกา พูดก็ตกตะลึง หลายคนไม่เชื่อแต่บางคนก็เริ่มสงสัยเพราะเคยเห็นนางเดินเข้าออกที่ประทับจึง พากันซุบซิบแต่พระพุทธองค์ทรงนิ่งเฉย ชาวบ้านจึงกล่าวเตือนสติจิญจมาณวิกา ว่าญจมาณวิกาว่า
 
'''"จิญจมาณวิกาเอ๋ย การกล่าววาจาโป้ปดนั้นเป็นการผิดศีล แต่วาจาที่กล่าวเท็จใส่ร้ายต่อผู้ทรงศีลนั้น ผิดยิ่งกว่ามากมายนัก นางจงหยุดเถิด"'''
 
แต่แทนที่ '''นางจิญจมาณวิกา''' ญจมาณวิกาจะรู้สึกผิด กลับจาบจ้วงดุด่าใส่ร้ายพระพุทธองค์ต่อ หาว่าพระพุทธองค์ทรงปัดและบ่ายเบี่ยงไม่รับผิดชอบต่อบุตรในครรภ์ เทพเทวดารู้เห็นการกระทำอันเป็นบาปของ นางจิญจมาณวิกา จึงแปลงกายเป็นหนู ปีนไต่ไปบนตัวนาง และกัดสายคาดผ้าที่ผูกท้องจนหลุดร่วงลงมากองที่พื้น <ref> [ขุ.ธ.อ. หรือขุททกนิกาย ธรรมบท อรรถกถา (บาลี) เล่ม ๑/ข้อ ๑๔๕/หน้า ๑๓๙-๑๔๐ (จิญฺจมาณวิกาวตฺถุ)]</ref>
 
ความจริงจึงปรากฏแก่คนทั้งหลายว่า นางมิได้ตั้งครรภ์ นางได้กล่าวตู่หาความใส่ร้ายพระพุทธองค์ คนทั้งหลายพากันลุกฮือขึ้นไล่ทุบตี พอออกไปพ้นประตูพระเชตวันมหาวิหาร นางก็ถูกแผ่นดินสูบ
 
===ผลกรรมจากการถูกใส่ร้าย===
พระพุทธเจ้าตรัสว่าเหตุ มาสู่ผลที่ถูกกล่าวตู่ <ref> [ขุ.อป.หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๖๗-๗๒/หน้า ๕๗๕] </ref> เพราะเคยไปกล่าวตู่พระปัจเจกพุทธเจ้านามว่า “สุรภี” “ในชาติอื่น ๆ ในปางก่อน เราเกิดเป็นนักเลงชื่อว่าปุนาลิ ได้กล่าวตู่พระปัจเจกพุทธเจ้ามีนามว่าสุรภี ผู้ไม่ประทุษร้ายใคร” <ref> [ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) ๓๒/๖๗/๕๗๕] </ref> ด้วยผลของการกระทำนั้น ทำให้ตกนรก เสวยทุกขเวทนาหลายพันปี <ref>[ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๖๘/หน้า ๕๗๕] </ref> กล่าวตู่พระเถระนามนันทะ และทำให้ตกนรกถึง ๑๐๐100,๐๐๐000 ปี <ref> [ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๗๑/หน้า ๕๗๕] </ref> และเศษของการกระทำ ทำให้ต้องได้รับการกล่าวตู่จากนาง “สุนทรี” สุนทรี<ref> [ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๖๙/หน้า ๕๗๕] </ref> และนางจิญจมาณวิกา” ญจมาณวิกา<ref>ขุ.อป. หรือ ขุทกนิกาย อปทาน (ไทย) เล่ม ๓๒/ข้อ ๗๒/หน้า ๕๗๕] </ref> หรือข้อมูลในพุทธาปทานชื่อปุพพกัมมปิโลติพระพุทธเจ้า ตรัสบุพกรรมของตนไว้ว่า เพราะการกล่าวตู่พระเถระนามว่านันทะ ผู้เป็นสาวกของพระพุทธเจ้า ผู้ครอบงำอันตรายทั้งปวง เราจึงเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในนรกเป็นเวลานาน เราเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในนรก เป็นเวลานานถึง ๑๐๐100,๐๐๐000 ปี ครั้นได้เกิดเป็นมนุษย์ ก็ได้รับการกล่าวตู่มาก ด้วยผลกรรมที่เหลืออยู่นั้น นางจิญจมาณวิกาจึงมากล่าวตู่เราด้วยคำไม่จริงท่ามกลางหมู่ชน <ref> (ขุ.อป.(ไทย) ๓๒/๗๒/๕๗๕) </ref>
 
== อ้างอิง ==