ผลต่างระหว่างรุ่นของ "ปริภูมิสามมิติ"

เนื้อหาที่ลบ เนื้อหาที่เพิ่ม
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
Prem4826 (คุย | ส่วนร่วม)
ไม่มีความย่อการแก้ไข
บรรทัด 3:
[[ไฟล์:Coord planes color.svg|thumb|300px|[[ระบบพิกัดคาร์ทีเซียน]] 3 มิติ แบบมือขวา ซึ่งแกน ''x'' พุ่งออกมาหาผู้สังเกตการณ์]]
 
'''ปริภูมิสามมิติ''' ({{lang-en|Three-dimensional space}}) หรือเรียกโดยย่อว่า '''สามมิติ''' (3D, 3-space) เป็นแบบจำลองลักษณะทางเรขาคณิตของจักรวาลที่เราอยู่เลขาคณิตซึ่งมี โดยปกติ3 ค่า (เรียกว่า [[พารามิเตอร์]]) ที่ใช้ในแต่ละมิติจะการกำหนดตำแหน่งขององค์ประกอบด้วยใด ความกว้าง ความยาว(เช่น และความสูงหรือความลึก[[จุด (คณิตศาสตร์)|จุด]]) แม้ว่าในความเป็นจริงทิศทางสามทิศทางใดๆที่ตั้งฉากซึ่งกันและกันก็สามารถถูกเรียกได้ว่ายังเป็นสามความหมายอย่างไม่เป็นทางการของคำว่า [[มิติ]]
 
ใน[[ฟิสิกส์]]และ[[คณิตศาสตร์]] [[เวกเตอร์แบบยูคลิด|ลำดับ]]หนึ่งของ[[จำนวนจริง|จำนวน]] {{math|''n''}} สามารถเข้าใจได้ว่าเป็นสถานที่ในปริภูมิ {{math|''n''}} มิติ ซึ่งเมื่อ {{math|1=''n'' = 3}} เซตของสถานที่ดังกล่าวทั้งหมดเรียกว่า '''[[ปริภูมิแบบยุคลิด]]สามมิติ''' และปกติแล้วจะแทนค่าโดยใช้สัญลักษร์ {{math|ℝ<sup>3</sup>}} อีกทั้งยังทำหน้าที่เป็นรูปจำลองพารามิเตอร์ 3 ค่าของ[[จักรวาล]]ทางกายภาพ (นั่นเป็นส่วนจักรวาลที่ไม่คำนึงถึงเวลา) ซึ่งเป็นที่ทราบกันดีว่ามี[[สสาร]]ทั้งหมดปรากฏอยู่ อย่างไรก็ตามในปริภูมินี้เป็นเพียงแค่หนึ่งในตัวอย่างความหลากหลายของปริภูมิในสามมิติที่เรียกว่า [[แมนิโฟลด์ 3 มิติ]] โดยในตัวอย่างแบบเรียบง่าย เมื่อ 3 ค่านี้อ้างถึงการวัดในทิศทางที่แตกต่างกัน ([[ระบบพิกัด|พิกัด]]) ซึ่งทิศทางใด ๆ ก็ตามในทั้ง 3 ทิศนี้ล้วนทำให้[[ปริภูมิเวกเตอร์|เวกเตอร์]]ในทิศทางเหล่านี้วางตัวไม่เหมือนกับ[[ปริภูมิสองมิติ|สองมิติ]] ([[ระนาบ]]) นอกจากนี้ในกรณีนี้ค่าทั้งสามนี้สามารถถูกกำกับชื่อได้โดยการรวมกันของคำว่า ''[[ความกว้าง]]'' ''[[ความยาว]]'' และ''[[ความสูง]]'' (ความลึก)
ในฟิสิกส์ อวกาศสามมิติสามารถมองขยายให้เป็นสี่มิติ ได้โดยการรวมมิติที่สี่ คือ เวลา เข้าไปด้วย เรียกว่า [[กาล-อวกาศ]] (space-time) หรือ Minkowski space (ดู [[ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป]])
 
 
[[หมวดหมู่:เรขาคณิตหลายมิติ]]
[[หมวดหมู่:เรขาคณิตทรงตันแบบยุคลิด]]
[[หมวดหมู่:เรขาคณิตวิเคราะห์]]
[[หมวดหมู่:เรขาคณิตหลายมิติ]]
{{โครงคณิตศาสตร์}}
{{โครงฟิสิกส์}}